Page 16 - Memo_Setthagitporeang-Hight.indd
P. 16

8   หนังสือเรียน สาระทักษะการดําเนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา ตอน ปลาย (ทช31001)




                              เรื่องที่ 1 ความหมายโครงสรางของชุมชน


                              ความ หมาย ของ ชุมชน  ชุมชน  หมายถึง ถิ่นฐาน ที่อยู ของ กลุมคน ถิ่นฐาน นี้ มี
                       พื้นที่ อางอิง ได และ กลุมคน นี้ มี การ อยูอาศัย รวมกัน มี การ ทํา กิจกรรม เรียนรู ติดตอ สื่อสาร

                       รวมมือ และ พึ่งพา อาศัย กัน มี วัฒนธรรม และ ภูมิปญญา ประจําถิ่น มี จิตวิญญาณ และ ความ
                       ผูกพัน อยู กับ พื้นที่ แหงนั้น อยู ภายใต การ ปกครอง เดียวกัน
                              โครงสราง ของ ชุมชน ประกอบดวย 3 สวน คือ
                              1. กลุมคน หมายถึง การ ที่ คน 2 คน หรือ มากกวา นั้น เขามา ติดตอ เกี่ยวของ กัน และ

                       มี ปฏิสัมพันธ ตอกัน ทาง สังคม ใน ชั่วเวลา หนึ่ง ดวย ความ มุงหมาย อยาง ใด อยาง หนึ่ง รวมกัน
                              2. สถาบัน ทาง สังคม เมื่อ คน มา อยู รวมกัน เปนกลุม แลว และ มี วิวัฒนาการ ไป ถึงขั้น
                       ตั้ง องคกร ทาง สังคม แลว ก็ จะ มี การ กําหนด แบบแผน ของ การ ปฏิบัติ ตอกัน ของ สมาชิก ใน กลุม
                       เพื่อ สามารถ ดําเนินการ ตาม ภารกิจ

                              3. สถานภาพ และ  บทบาท สถานภาพ หมายถึง ตําแหนง ทาง สังคม ของ คนใน กลุม
                       หรือ สังคม บทบาท หมายถึง พฤติกรรม ที่ คนใน สังคม ตอง ทําตาม สถานภาพ ใน กลุม หรือ สังคม




                              เรื่อง ที่ 2  การพัฒนา ชุมชน

                              ชุมชน ที่ มี ความ สามารถ ใน การ บริหาร จัดการ ชุมชน อยาง มี ประสิทธิภาพ ตอง มี

                       องคประกอบ สําคัญ หลาย ประการ และ สามารถ พัฒนา หรือ ควบคุม องคประกอบ เหลานั้น ได
                       โดย ผู ศึกษา ไว ดังนี้  มี นัก วิชาการ หลาย ทาน ที่ ได ศึกษา และ วิเคราะห องค ประกอบการ พัฒนา
                       ชุมชน ไว ตาม แนวคิด การ พัฒนา ชุมชน ดัง ตอไปนี้
                              สนท ยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ได กลาว ถึง การ พัฒนา ชุมชน วา มี องคประกอบ

                       2 ประการ สรุป ได ดังนี้
                              1. การ เขา มี สวนรวม ของ ประชาชน เอง เพื่อที่จะ ปรับปรุง ระดับ ความ เปนอยู ให ดีขึ้น
                       โดย จะ ตอง พึ่งตนเอง ให มาก ที่สุด เทาที่จะ เปนได  และ ควร เปนความ ริเริ่ม ของ ชุมชน เอง ดวย
                              2. การ จัดให มี การ บริการ ทาง เทคนิค และ บริการ อื่นๆ ที่จะ เรงเรา ให เกิด ความคิด

                       ริเริ่ม  การ ชวย ตน เอง
                              3. ชวยเหลือ กัน และ กัน  อันเปน ประโยชน มาก ที่สุด
                                 คณะกรรมการ พัฒนาการ เศรษฐกิจ และ สังคม แหงชาติ (2539 : 1 – 2) ได กลาว
                       ถึง ลักษณะ การ พัฒนา คน และ สิ่งแวดลอม  ซึ่ง อาจ ถือวา เปน องคการ พัฒนา ชุมชน ดวย สรุป

                       ได ดังนี้
                              1. การ พัฒนา คน ประกอบดวย 4 ดาน ดังนี้
                                 ดาน จิตใจ
                                 ดาน รางกาย

                                 ดาน สติปญญา
                                 ดาน บุคลิกภาพ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21