Page 18 - Memo_Setthagitporeang-Hight.indd
P. 18

10   หนังสือเรียน สาระทักษะการดําเนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา ตอน ปลาย (ทช31001)



                       มี เวลา พอที่จะ เห็น ความ ถูกตอง คุมคา มี แนวทาง ประสาน ประโยชน ระหวาง รัฐ และ เอกชน

                       และ ความ รวมมือ ระหวาง ประเทศ จะ ตอง เกื้อกูล ตอ การ พัฒนา
                              2. องคการ บริหาร การ พัฒนา ชนบท ที่ มี องคกร กลาง ทําหนาที่ ประสาน นโยบาย
                         แผนงาน และ โครงการ อยาง มี ประสิทธิภาพ และ มี อํานาจ เด็ดขาด ใน การ ลงทุน ใน หนวย ปฏิบัติ

                       ตอง ดําเนินการ ตาม นโยบาย แผนงาน และ โครงการ ใน แผน ระดับชาติ และ จัด งบ ประมาณ
                       การ ติดตาม ควบคุม ที่ มี ประสิทธิภาพ

                              3. วิทยา การ ที่ เหมาะสม และ การ จัดการ บริการ ที่ สมบูรณ เลือก พื้นที่ และ กลุม เปาหมาย
                       ที่ สอดคลองกับ ความ เปนจริง และ เลือก วิทยา การ ที่ ประชาชน จะ ไดรับ ให เหมาะสม
                              4. การ สนับสนุน ระดับ ทองถิ่น ความ รับผิดชอบ ของ การ สนับสนุน งาน ใน ทอง ถิ่นที่

                       มี ประสิทธิภาพ จะ เกิด การ พัฒนา อยาง แทจริง ใน ระยะยาว
                              5. การ ควบคุม ดูแล และ ติดตาม ผล การ ปฏิบัติ งาน ควร เปนไปตาม แผนงาน และ

                       โครงการ ทุก ระดับ และ ครอบคลุม ทุก พื้นที่ พรอมทั้ง ให สถาบัน การ ศึกษา ทองถิ่น ติดตาม
                       ประเมินผล


                              อัชญา เคารพา พงศ (2541 : 82 – 83) กลาว ถึง ปจจัย สวนประกอบ ที่ มีอิทธิ พล
                       ตอ การ พัฒนา สรุป ได ดังนี้

                              1. ผูนํา ไดแก ผูนํา ทองถิ่น ทั้ง เปนทางการ และ ไม เปนทางการ ใน หมูบาน และ จาก
                       องคกร ภาครัฐ มี สวน ให ชุมชน พัฒนา  ในทาง ที่ ดีขึ้น เปน ประโยชน ชุมชน มี เจตคติ ที่ ดี ยอมรับ
                       สิ่ง ใหม และ สราง พลัง ตอสู เพื่อ การ เปลี่ยนแปลง

                              2. สังคม – วัฒนธรรม  การ ไดรับ วัฒนธรรม จาก สังคมเมือง มา ปฏิบัติ ทําให ชุมชน
                       เกิด การ เปลี่ยนแปลง

                              3. สิ่งแวดลอม การ ปรับปรุง สภาพแวดลอม ภูมิศาสตร ชุมชน สงผลให ที่ดิน อุดมสมบูรณ
                       ราคา สินคาเกษตร ดี ความ เปนอยู สะดวกสบาย กวา เดิม
                              4. ประวัติ ศาสตร เหตุการณ สําคัญ ในอดีต มีผลตอ การ พัฒนา ความ สามัคคี รัก พวกพอง

                       ชวยเหลือ ซึ่ง กัน และ กัน

                              ปรียา พรหม จันทร (2542 : 25) ได สรุป องคประกอบ ที่ เปน ปจจัย การ พัฒนา ชุมชน

                       ได ดังนี้
                              1. ดาน เศรษฐกิจ ชุมชน ที่ เศรษฐกิจ ดี การ พัฒนา ชุมชน สามารถ พัฒนา ไดดี ดวย

                              2. ดานสังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดลอม เปน บริบท ที่ ปรับ เปลี่ยน สภาพ ชุมชน ไป
                       ตาม ปจจัย
                              3. ดาน การเมือง หมาย รวมถึง การเมือง ระดับชาติ และ ชุมชน ระดับ ทองถิ่น

                              4. ดาน ประวัติ ศาสตร โดย อาศัย ประสบการณ และ วิกฤต ของ ชุมชน เปน ฐาน และ
                       บทเรียน การ พัฒนาชุมนุม

                              นอกจากนี้ ปรียา พรหม จันทร ยัง ได จําแนก ออก เปน องคประกอบ ที่ เปน ปจจัย การ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23