Page 23 - Memo_Setthagitporeang-Hight.indd
P. 23

หนังสือเรียน สาระทักษะการดําเนินชีวิต  รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง  ระดับมัธยมศึกษา ตอน ปลาย (ทช31001)  15



                       มา ใช ใน การ ดําเนินการ บริหาร ธนาคาร ชุมชน กุด กะ เสียน รวมใจ การ ประหยัด อดออม อ อม

                       เพื่อ นําไปใช ใน การ ผลิต ไม นําไปใช ฟุมเฟอย ให กู โดย ถือ หลัก ความ พอประมาณ ถือ หลัก
                       มีเหตุมีผล และ มี ภูมิ คุมกัน ใน ตัว ที่ ดี ภายใต เงื่อนไข ความรู คือ รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง
                       และ เงื่อนไข คุณธรรม ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน และ แบงปน ปจจุบัน มี เงินทุน หมุนเวียน

                       ประมาณ 14 ลาน บาท  สมาชิก สถาบัน การเงิน ชุมชน  ประกอบดวย หมู ที่ 10,11,12
                       บานกุด กะ เสียน ตําบล เขื่องใน ซึ่ง มี สมาชิก 246 ครัวเรือน 285 คน มี จํานวน สมาชิก

                         เงินฝาก 464 คน
                              “สราง ผล ดี ให ชุมชน ผู กู กู ถูก คน ฝาก ได ดอกเบี้ย สูง ตั้งแต รอยละ 2 สูงสุด หาก มี
                       เงินฝาก 5 แสน บาท ขึ้น ไป ดอกเบี้ย รอยละ 5 บาท ไม หัก ภาษี ดอกเบี้ย กู งาย กวา แต ให กู เฉพาะ

                       คนใน ชุมชน เทานั้น สวน ผูฝาก นอก ชุมชน ก็ ฝาก ได ดอกเบี้ย เทา คนใน ชุมชน แต กู ไมได
                       ทําให ประชาชน ประหยัด ดอกเบี้ย เงินกู ได  ชุมชน ก็ พึงพอใจ เสีย ดอกเบี้ย นอยกวา และ ยัง ได

                       สวัสดิการ กลับ คืน สู ชุมชน “ นายส มาน ทวี ศรี ประธาน กรรมการ สถาบัน การเงิน ชุมชน
                       กุด กะ เสียน รวมใจ กลาว
                              ใน มุมมอง ของ คนใน ชุมชน บานกุด กะ เสียน ตาง บอก เปน เสียง เดียวกัน วาที่ มี

                       วันนี้ ได เพราะ “ผูนํา ดี” เปน ผูนํา ชุมชน ที่ เขมแข็ง นอกจาก การ ยอมรับ ของ คนใน ชุมชน แลว
                       ยังมี รางวัล มากมาย รับรอง อาทิ ผูใหญ บาน ยอดเยี่ยม แหนบ ทองคํา ป 2523 กํานัน ยอดเยี่ยม
                       แหนบ ทองคํา ป 2546 ประกาศ เกียรติคุณ “คนดี ศรี อุบล” ป 2550 และ รางวัล ผูนํา ชุมชน

                       ดีเดน ระดับ เขต ป 2550 ใน ฐานะ ที่ เปน แกนนํา สราง รอยยิ้ม ให ชุมชน


                                        ตัวอยาง ของ ชุมชน พอเพียง ดาน พลังงาน

                              ตลอด 3 ป (2549-2551) ของ การ เดินหนา โครงการ จัดทํา แผน พลังงาน ชุมชน 80

                       ชุมชน สนอง พระ ราช ดําริ “เศรษฐกิจ พอเพียง” ของ สํานัก นโยบาย และ ยุทธศาสตร
                       สํานักงาน ปลัด กระทรวง พลังงาน ดวย มองเห็น ศักยภาพ ชุมชน ใน การ จัดการ ดาน พลังงาน ที่
                       ชุมชน ทํา เอง ได ภายใต การ บริหาร จัดการ ทรัพยากร ทอง ถิ่นที่ สามารถ นํามา เปลี่ยน เปน

                       พลังงาน ทดแทน ใช ใน การ ดําเนิน ชีวิต นั้น ทําได จริง
                              “แผน พลังงาน ชุมชน” คือ สิ่ง ที่เกิด ขึ้นกับ ทุก ชุมชน ที่ เขารวม ใน ระยะเวลา ที่ ตางกัน

                       พรอมกับ กลไก การ ทํางาน รวมกัน ระหวาง ภาค ชุมชน และ ภาค วิชาการ โดยเฉพาะ เจาหนาที่
                       พลังงาน จังหวัด หรือ สํานักงาน พลังงาน ภูมิภาค ซึ่ง เปน ตัวแทน กระทรวง พลังงาน ไป เผยแพร
                       ความรู สราง ความ เขาใจ “พลังงาน เรื่อง ใกล ตัว” และ นําเสนอ เทคโนโลยี พลังงาน ทางเลือก

                       หรือ พลังงาน ทดแทน หลาก หลายประเภท ให ชาวบาน เลือก นําไป ใชได อยาง เหมาะสมกับ ความ
                       ตองการ เพื่อ ประโยชน สูงสุด ของ การ ใช พลังงาน อยาง  คุมคา และ ไม ทําลาย สิ่งแวดลอม

                       ปรากฏการณ ที่ เกิดขึ้น ใน ชุมชน สวนใหญ ที่ เขารวม คือ การ ตอ ยอด หรือ นํา เทคโนโลยี ที่
                       กระทรวง พลังงาน นํามา ให นั้น นําไป ประยุกต ตอ เพื่อ การ ใชงาน ที่ สะดวก และ สอดคลองกับ
                       ความ ตองการ ของ แตละคน แตละ ชุมชน ที่ แตกตางกัน การ ลองทํา ลอง ใช ให เห็น ผล กระจาง

                       ชัด แลวจึง บอกตอ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28