Page 251 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 251
246 วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
3. แบบสังเกตการณ์
4. บันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน
5. บันทึกวีดีทัศน์และเสียง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ผู้วิจัยประสานงานขอความร่วมมือโรงเรียนในการด าเนินการทดลอง
2. ปรับพื้นฐานสร้างความคุ้นเคยกับผู้เรียน
3. ด าเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ปัญหาปลายเปิด
โดยระหว่างนี้ผู้วิจัยได้บันทึกและสังเกตการคิดอเนกนัย โดยบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้
ของนักเรียน ได้แก่ แนวคิดอเนกนัย การตอบค าถาม การร่วมมือในการท ากิจกรรม
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยบันทึกวีดีทัศน์และเสียง หลังจากการสอนในแต่ละ
ชั่วโมงจะให้นักเรียนบันทึกการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ หลังจากนั้น
ให้นักเรียนท าแบบฝึกหัดท้ายกิจกรรม
4. เมื่อสอนครบตามแผนจะด าเนินการสอบหลังเรียนโดยใช้แบบวัดการคิด
อเนกนัย
การวิเคราะห์ข้อมูล
1. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ ได้แก่ ค่าความยากง่าย ค่าอ านาจ
จ าแนก และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยสถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของแบบวัด
การคิดอเนกนัย ได้แก่ ค่า IOC ค่าความเชื่อมั่น ค่าความยาก และค่าอ านาจจ าแนก
(กิตติพร ปัญญาภิญโญผล, 2544)
R
1.1 หาค่า IOC โดยใช้สูตรดังนี้ IOC =
N
1.2 หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) หาโดยใช้สูตรการหาสัมประสิทธิ์
แอลฟา ( - Coefficient) ของครอนบาค ใช้หาความเชื่อมั่นของแบบวัดการคิดอเนก
นัยและข้อสอบแบบอัตนัย
ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560