Page 73 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 73

68   วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


        ก าลังการผลิตปีละ 30,000 ตันและขนาดใหญ่ก าลังการผลิตมากกว่า 30,000 ตันขึ้นไป
        ทั้งนี้เพราะขนาดของก าลังการผลิตจะท าให้ต้นทุนการผลิตเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิต
        การใช้แรงงานวัตถุดิบท าให้ควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพและการใช้แบบจ าลอง

        ต้นทุนการผลิตยางแท่งจะสามารถประเมินต้นทุนการผลิตของโรงงานได้รวดเร็ว
        สามารถส่งเสริมแนะน าและตอบค าถามต่างๆได้รวดเร็วและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

               อเนก กุลณะสิริ และคณะ (2545ข)ศึกษาต้นทุนการผลิตยางแท่งชั้น  20
        (STR 20) มีวัตถุประสงค์เพื่อหาค่าใช้จ่ายในการลงทุนของอุตสาหกรรมต่อหน่วยของ
        การผลิตเพื่อดูสถานการณ์การผลิต ก าลังการผลิต โอกาสลู่ทางในการขยายก าลังการ

        ผลิตเพื่อรองรับความต้องการยางแท่งที่เพิ่มขึ้นและเพื่อประเมินการด าเนินการและการ
        ส่งเสริมการลงทุนให้กับผู้สนใจในอุตสาหกรรมชนิดนี้ผลของการศึกษาในปี 2545/2546

        พบว่าจ านวนโรงงานยางแท่งของไทยมีจ านวน  50  โรงงานมีก าลังการผลิตเดือนละ
        112,746 ตันหรือปีละ 1.353 ล้านตันโรงงานยางแท่งกระจายไปในจังหวัดต่างๆจ านวน

        17 จังหวัดแบ่งเป็นอยู่ในเขตภาคใต้ 13 จังหวัดจ านวน 40 โรงงานมีก าลังการผลิตรวม
        1.165 ล้านตันต่อปีและตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออก 4 จังหวัดจ านวน 10 โรงงานมีก าลัง

        การผลิตรวม 0.188 ล้านตันต่อปี ส าหรับค่าใช้จ่ายในการผลิตยางแท่งได้ด าเนินการเก็บ
        รวบรวมข้อมูลจากโรงงานยางแท่งในภาคตะวันออกจ านวน 6 โรงงานส่วนในเขตภาคใต้
        ยังไม่ได้รวบรวมข้อมูล โดยข้อมูลต้นทุนโรงงานยางแท่งขนาดก าลังการผลิตปีละ 6,000

        ตันเฉลี่ยกิโลกรัมละ  4.11  บาทแบ่งเป็นต้นทุนคงที่ซึ่งมีค่าเช่า/ซื้อที่ดินสิ่งก่อสร้างเพื่อ
        การผลิตเครื่องจักรเครื่องทุ่นแรงอุปกรณ์โรงงาน/ ผลิตสิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์เพื่อการ

        บริหารและบริการเฉลี่ยกิโลกรัมละ 0.74 บาท(ร้อยละ 8.00 ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด)
        ส่วนต้นทุนผันแปรซึ่งมีค่าจ้างแรงงานค่าบ ารุงรักษาและค่าพลังงานเฉลี่ยกิโลกรัมละ
        2.77  บาท(ร้อยละ  67.40  ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด)ต้นทุนค่าบริหารจัดการของ

        ผู้จัดการระดับต่างๆเฉลี่ยกิโลกรัมละ 0.25 บาท(ร้อยละ 6.08 ของต้นทุนทั้งหมด)ต้นทุน
        ดอกเบี้ยเงินลงทุนเฉลี่ยกิโลกรัมละ  0.31  บาทหรือคิดเป็นร้อยละ  7.55  ของต้นทุน

        ทั้งหมดและต้นทุนค่าใช้จ่ายอื่นๆค่าเสียโอกาสเฉลี่ยกิโลกรัมละ 0.04 บาท(ร้อยละ 0.97
        ของต้นทุนทั้งหมด)



                           ปีที่ 13 ฉบับที่ 1  มกราคม – มิถุนายน  2560
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78