Page 75 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 75

70   วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต


        ผลิต คือ ยางก้อนถ้วย สามารถจัดหาได้ในแหล่งท้องถิ่น โรงงานตั้งอยู่ที่บริเวณต าบล
        กระแซง อ าเภอกัทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องจากเป็นท าเลที่มีการคมนาคม
        สะดวก เป็นแหล่งศูนย์กลางวัตถุดิบ ใกล้แหล่งน ้าธรรมชาติ ราคาที่ดินเหมาะสม ด้าน

        การจัดการพบว่า โครงการมีการด าเนินงานในรูปของบริษัทจ ากัด โดยแบ่งการ
        บริหารงานเป็น ฝ่ายบริหารจ านวน 9 คนและบุคลากรฝ่ายผลิต 14  คน ด้านการเงิน

        พบว่าต้องใช้เงินลงทุนจ านวน 28,331,531 บาท ประกอบด้วยส่วนของทุน 20,331,531
        บาท ส่วนของทุนกู้ยืม 8,000,000 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 5 ปี 118 วัน มูลค่าปัจจุบัน
        สุทธิ ณ อัตราคิดลดร้อยละ 15 เท่ากับ 117,923,642 บาท โดยโครงการให้อัตรา

        ผลตอบแทนการลงทุนลดค่าเท่ากับร้อยละ 37.7  ดังนั้น จึงยอมรับสมมติฐานที่ว่ามี
        ความเป็นไปได้ในการลงทุนโรงงานผลิตยางแท่งมาตรฐานไทย ในจังหวัดศรีสะเกษ

               อริยา เผ่าเครื่อง และธงชัน เตวิน  (2555)    ศึกษาความเป็นไปได้ในการ
        จัดตั้งโรงงานแปรรูปยางพาราของเกษตรในภาคเหนือ กรณีศึกษาต าบลทุ่งกล้วย

        จังหวัดพะเยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินในการจัดตั้ง
        โรงงานแปรรูปยางแผ่นรมควัน และศึกษาระบบโลจิสติกส์ และการตลาดยางพาราใน

        ระดับภาคเหนือ เพื่อสนับสนุนผลผลิตยางของต าบล ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้จากการ
        สัมภาษณ์เกษตรกรต าบลทุ่งกล้วยทุกครัวเรือนที่มีพื้นที่ปลูกยางพาราในปี พ.ศ. 2554
        จ านวน 839 ครัวเรือน ส าหรับเป็นฐานข้อมูลเพื่อประมาณก าลังการผลิตของต าบล และ

        เก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการเกษตร และส านักงานกองทุน
        สงเคราะห์การท าสวนยาง นอกจากนี้ได้เดินทางไปศึกษาดูงานเพิ่มเติมจากโรงงาน

        ต้นแบบในภาคตะวันออกเพื่อสัมภาษณ์เชิงลึก
               ผลการศึกษาที่ได้พบว่า การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินในการจัดตั้ง
        โรงงานแปรรูปยางแผ่นรมควัน ซึ่งมีอายุโครงการ 20 ปี ผลผลิตเป็นยางแผ่นรมควันชั้น

        3 และวัตถุดิบที่ใช้คือน ้ายางสด โดยสามารถประมาณก าลังการผลิตของโรงงานในปี
        พ.ศ. 2556 เฉพาะของต าบลทุ่งกล้วย ได้ 5 ตันต่อวัน ใช้เงินลงทุนทั้งหมด 19.71 ล้าน

        บาท ซึ่งโรงงานมีก าลังการผลิตสูงสุด 15 ตันต่อวัน จากเกณฑ์ทางเศรษฐกิจที่ใช้ในการ
        วิเคราะห์โดยใช้อัตราคิดลดร้อยละ 7 สามารถสรุปได้ว่า โครงการจัดตั้งโรงงานแปรรูป



                           ปีที่ 13 ฉบับที่ 1  มกราคม – มิถุนายน  2560
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80