Page 25 - E-Book รายงานสรุปผลการประชุม
P. 25

รายงานสรุปผล การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนำาเสนอความก้าวหน้าด้านการคุ้มครองทางสังคมการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติ
                                       และกลยุทธ์ที่ดี เพื่อผลักดันให้มีการจัดสรรทรัพยากรด้านการเงินภายในประเทศด้านการคุ้มครองทางสังคมเพิ่มมากขึ้น


                         ๒) แม้ว่าจะมีความพยายามในการวางแผนแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อคุ้มครอง

                 ทางสังคมสำาหรับเด็ก แต่ในการนำาแผนไปสู่การปฏิบัตินั้น ยังคงมีการดำาเนินของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามบทบาท
                 หน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน ขาดการประสาน ส่งต่อ และการบูรณาการการทำางานที่เป็นระบบชัดเจน


                                        กลุ่มที่ ๒ การคุ้มครองทางสังคมสำาหรับวัยแรงงาน


                         จากการระดมความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่มได้มีมติที่จะร่วมกันกำาหนดแนวทางการคุ้มครองทางสังคม

                 ให้กับกลุ่มแรงงานนอกระบบ เนื่องจากแรงงานส่วนใหญ่ไม่ได้รับการคุ้มครองและไม่มีหลักประกันทางสังคมจาก
                 การทำางาน อาทิเช่น กลุ่มเกษตรกร กลุ่มผู้รับงานไปทำาที่บ้าน กลุ่มหาบเร่แผงลอย กลุ่มมอเตอร์ไซด์รับจ้าง

                 สมาชิกผู้เข้าร่วมถอดบทเรียน : กลุ่มการคุ้มครองทางสังคมสำาหรับวัยแรงงาน

                         ๑) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

                         ๒) กระทรวงยุติธรรม

                         ๓) กระทรวงมหาดไทย


                         ๔) กระทรวงแรงงาน

                         ๕) สำานักงานประกันสังคม

                         ๖) สำานักงานสถิติแห่งชาติ

                         ๗) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ

                         ๘) สภาองค์การลูกจ้างแรงงานแห่งประเทศไทย

                 ขั้นตอนที่ ๑ กำาหนดภารกิจที่คาดหวัง : กลุ่มการคุ้มครองทางสังคมสำาหรับเด็ก

                     • วัตถุประสงค์ของภารกิจ

                        เพื่อให้แรงงานสามารถเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคมได้อย่างทั่วถึง

                     • เป้าหมายของภารกิจ


                         แรงงานนอกระบบอย่างน้อยร้อยละ ๒๐ มีหลักประกันทางสังคมภายใน ๔ ปี จากการเป็นสมาชิก
                 กองทุนประกันสังคม (มาตรา ๔๐) หรือเป็นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)

                 ขั้นตอนที่ ๒ ตรวจสอบต้นทุน

                         ๒.๑ ประเมินนำ้าหนักความสำาคัญของกิจกรรม

                              ขั้นตอนนี้ให้ผู้ร่วมประชุมระบุกิจกรรมสำาคัญ ๆ ที่ดำาเนินการไปแล้ว พร้อมให้คะแนนเพื่อจัดลำาดับ

                 ความสำาคัญของกิจกรรมต่อการบรรลุเป้าหมาย โดยมีคะแนน ๑ – ๓ คะแนน จากนั้นทำาการรวมคะแนนและ
                 จัดลำาดับความสำาคัญของกิจกรรมจากลำาดับมากไปน้อย ผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้











                                                                                                            23
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30