Page 9 - Chapter 5
P. 9
6
ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง ปริมาตรของแก๊สในปฏิกิริยาเคมี
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถสรุปสาระส าคัญของกฎรวมปริมาตรของเกย์-ลูกแซก กฎของอาโวกาโดรได้
2. นักเรียนสามารถเขียนปฏิกิริยาเคมีของแก๊ส หาอัตราส่วนโดยปริมาตรจากปฏิกิริยาเคมีของแก๊สได้
กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law)
ในปี ค.ศ. 1809 (พ.ศ. 2352) โจเซฟ หลุยส์ เกย์-ลูสแซก (Joseph Louis Gay Lussac)
นักเคมีชาวฝรั่งเศสได้ทดลองวัดปริมาตรของแก๊สที่ท าปฏิกิริยาพอดีกันและแก๊สที่เกิดจากปฏิกิริยา โดยวัด
ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ซึ่งเมื่อเกย์-ลูสแซกท าการทดลองหลายๆ ครั้ง ก็ได้พบความสัมพันธ์
ระหว่างปริมาตรของแก๊สและสรุปได้เป็นกฎเรียกว่า “กฎรวมปริมาตรแก๊ส” ซึ่งต่อมาเรียกว่า “กฎของ
เกย์-ลูสแซก” (Gay-Lussac’s law) มีใจความส าคัญดังนี้
“อัตราส่วนระหว่างปริมาตรของแก๊สที่ท าปฏิกิริยาพอดีกัน และปริมาตรของแก๊สที่ได้จากปฏิกิริยา
ซึ่งวัดที่อุณหภูมิ และความดันเดียวกัน จะเป็นเลขจ านวนเต็มลงตัวน้อยๆ”
ตัวอย่าง ปฏิกิริยาที่เป็นไปตามกฎของเกย์-ลูสแซก
1. H 2(g) + Cl 2 (g) 2HCl(g) ให้นักเรียนศึกษาหาค าตอบ
อัตราส่วน 1 : 1 : 2 ปริมาตร 1. ปริมาตรของแก๊สที่ท าปฏิกิริยา
2. 2H 2(g) + O 2(g) 2H 2O(g) พอดีและปริมาตรของแก๊สที่
อัตราส่วน 2 : 1 : 2 ปริมาตร เกิดขึ้น มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
3. 3H 2(g) + N 2(g) 2NH 3 (g)
อัตราส่วน 3 : 1 : 2 ปริมาตร 2. ปริมาตรรวมของแก๊สในสารตั้ง
4. 2N 2(g) + O 2(g) 2 N 2O (g) ต้นกับผลิตภัณฑ์มีค่าเท่ากัน
อัตราส่วน 2 : 1 : 2 ปริมาตร หรือไม่ อย่างไร
5. 2NO(g) + O 2 (g) 2NO 2 (g)
อัตราส่วน 2 : 1 : 2
ปริมาตร