Page 189 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 189

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                                                                        ี
            ปัญหาให้ต้องพิจารณาข้อยกเว้นของความรับผิดตามแต่อย่างใดดังท่กล่าวมาแล้ว กรณีจําเป็น
            จะต้องวินิจฉัยเรื่องข้อยกเว้นความรับผิดตามมาตรา 32 ถึง 43 ได้ก็ต่อเมื่อวินิจฉัยในเบื้องต้น
            ได้เสียก่อนว่าการ linking หรือ framing นั้นเป็นการทําซาหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนโดยไม่ได้
                                                             ้
                                                             ํ
            รับอนุญาต

                    โครงสร้างของข้อยกเว้นความรับผิดตามพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ พ.ศ. 2537 น้น มี
                                                                            ิ
                                                                                          ั
            หลักการใหญ่บัญญัติไว้อยู่ในมาตรา 32 วรรคหนึ่ง กล่าวคือ การกระทําจะไม่เป็นการละเมิด
            ลิขสิทธ์หากไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของงาน และไม่กระทบกระเทือนถึง
                   ิ
                                         ึ
                                                                    ึ
                                                     ี
            สิทธิของเจ้าของงานเกินสมควร ซ่งบทบัญญัติน้เป็นอีกรูปแบบหน่งของการอนุวัติการ three-step
            test ใน TRIPs Article 13 นั่นเอง
                    นอกจากมาตรา 32 วรรคหนึ่งแล้ว  วรรคอื่น ๆ หรือมาตราอื่น ๆ ในหมวด 1 ส่วนที่ 6
                                                                     ่
                                                                     ึ
                                        ิ
                                          ิ
                                            ั
                                   ิ
            ว่าด้วยข้อยกเว้นการละเมดลิขสทธ์น้น เป็นข้อยกเว้นเฉพาะกรณีซงบางมาตรากอยู่ภายใต้บังคับ
                                                                                 ็
            ของมาตรา 32 วรรคหนึ่ง ซึ่งไม่ปรากฏว่ามีข้อยกเว้นความรับผิดโดยเฉพาะสําหรับการ linking
            หรือ framing  หากจะใกล้เคียงก็คงจะมีแต่ในมาตรา 32/2 และมาตรา 35 ที่มีการกล่าวถึงระบบ
            คอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์แต่อาจจะมีปัญหาในการนํามาปรับใช้อยู่บ้าง เนื่องจาก
            มาตรา 35 นั้นเป็นข้อยกเว้นที่กระทําต่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่ URL ที่เปรียบเสมือนเป็น
                                       ั
            ท่อยู่บนโลกของอินเทอร์เน็ตน้นอาจจะไม่ถือว่าเป็นคําส่งหรือชุดคําส่งตามนิยามของโปรแกรม
              ี
                                                                        ั
                                                             ั
            คอมพิวเตอร์เสียทีเดียวเพราะไม่ใช่ชุดคําส่งท่ทําให้เกิดผลอย่างใดอย่างหนึ่ง  ส่วนมาตรา 32/2
                                                    ี
                                                                              30
                                                 ั
                                                            ํ
                                                    ์
                                                                                ี
                                                                                       ่
                                                                                       ี
                                                               ั
                                                                 ั
                                                                    ุ
              ้
                                             ี
            นน  แม้จะไม่ระบุประเภทของงานมลขสิทธไว้ แต่ก็จากดวตถประสงค์ไว้เพยงเท่าทเป็นการ
              ั
                                                    ิ
                                               ิ
            ทําซาท่จําเป็นต้องมีสําหรับการใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์ ซ่งก็จะคล้ายคลึงกับในกรณีท   ี ่
                   ี
                                                                     ึ
                ้
                ํ
                                           ี
            ผู้บริการอินเทอร์เน็ต เข้าเว็บไซต์ท่มีงานอันมีลิขสิทธ์และคอมพิวเตอร์ทําสําเนาแคช (cache)
                                                           ิ
               ื
                                                     ั
                                                                    ี
            เพ่อประโยชน์ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตในคร้งต่อ ๆ ไป ดังท่ศาล CJEU ได้เคยวินิจฉัยข้อ
                                                                    31
            ยกเว้นใน Article 5(1) ของ InfoSoc Directive ไว้ในคดี Meltwater  ซึ่งมีบทบัญญัติคล้ายคลึงกับ
            มาตรา 32/2 แต่ไม่น่าจะรวมถึงการ hyperlinking หรือ framing
                                                          ี
                    ปัญหาต่อมาจึงมีอยู่ว่า หากไม่มีบทบัญญัติท่เขียนข้อยกเว้นไว้โดยเฉพาะเจาะจงสําหรับ
                                                                                         ื
                                                                                             ี
                                                                                              ี
            hyperlinking แล้ว จะนํากฎหมายลายลักษณ์อักษรใดมาวินิจฉัย ความเป็นไปได้ในเร่องน้ม
            2 แนวทางหลัก
                    30   สําหรับนิยามของงานอันมีลิขสิทธิ์ประเภทโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างละเอียด ดูขอบเขตการคุ้มครองโปรแกรม
            คอมพิวเตอร์ภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์ (น. 312 ถึง 339) โดยบัณฑิต  หลิมสกุล 2547, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                    31   Meltwater, supra note 24
                                                                                             187
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194