Page 191 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 191
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
6. ผลในเชิงนโยบายและบทสรุป
ิ
์
ั
ิ
่
ื
Linking หรอ framing ไมใชปญหาใหมในวงการกฎหมายลขสิทธดงทจะเหนไดวามคดขน
่
ั
่
ี
่
ี
ึ
้
่
ี
็
้
ึ
สู่ศาลในสหรัฐอเมริกาและศาลแห่งสหภาพยุโรปกว่าทศวรรษแล้วซ่งพอจะสรุปได้ว่า การ linking
ิ
หรือ framing ไปยังงานอันมีลิขสิทธ์ท่เจ้าของงานเผยแพร่เองโดยตรงไม่ถือว่าเป็นการละเมิด แต่
ี
ี
้
ื
หากเป็นการกระทําต่องานท่มีบุคคลอ่นทําซําหรือเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตไว้อยู่ก่อนแล้วอาจ
ถือว่าเป็นการละเมิดได้ อย่างไรก็ดี การใช้และการตีความกฎหมายลิขสิทธิ์ในประเทศไทยยังคง
ื
่
ั
ไม่ชดเจนในเร่องดงกล่าวเนองจากยังไม่มีคดีท่ได้รับการวนิจฉัยโดยศาล ความไม่แน่นอนดังกล่าว
ิ
ี
ื
ั
ื
็
ี
่
ื
้
อาจสงผลตอกจกรรมทางเศรษฐกิจของคนเพราะการ linking หรอ framing นถอเปนโอกาสในทาง
่
ิ
ี
ึ
ธุรกิจอย่างหน่ง ดังท่จะเห็นได้จากธุรกิจผู้ให้บริการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (search engine)
อย่าง Google ก็อาศัยการกระทําดังกล่าวในการพัฒนาธุรกิจของตนและในขณะเดียวกันก็สร้าง
ี
คุณประโยชน์ให้แก่ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลท่มีอย่างมหาศาล การอนุญาตให้มีการ
linking หรือ framing โดยถูกกฎหมายอาจส่งผลดีในแง่ของการสนับสนุนการแลกเปล่ยนข้อมูลใน
ี
ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและอาจส่งเสริมให้เกิดธุรกิจใหม่ ๆ ในเรื่องของการค้นคว้าหรือรวบรวม
ึ
ึ
ี
ข้อมูลท่อาจเป็นงานอันมีลิขสิทธ์บนโลกอินเทอร์เน็ต ซ่งมีแนวโน้มท่จะทวีความสําคัญมากข้น
ิ
ี
ในยุคที่ข้อมูลสารสนเทศมีปริมาณมาก (big data) แต่อาจขาดการกลั่นกรองหรือจัดการข้อมูล
ให้มีความเหมาะสม ซึ่งการตีความกฎหมายในเชิงสนับสนุนการ linking หรือ framing นั้น ก็มี
แนวคําวินิจฉัยในต่างประเทศสนับสนุนอยู่ไม่น้อย ไม่ว่าจะเป็นการตีความโดยให้ถือว่าไม่เป็นการ
ทําซาหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน หรือกระทําการดังกล่าวโดยได้รับความยินยอมจากเจ้าของ
ํ
้
ิ
ลิขสิทธ์ไม่ว่าโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยาย แต่ในทางกลับกัน หากปล่อยให้มีการกระทําเช่นน ้ ี
เกิดข้นมากจนเกินไปก็อาจกระทบต่อการแสวงหาประโยชน์หรือสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของ
ึ
ี
เจ้าของงานอันมีลิขสิทธ์ถึงขนาดท่จะทําให้ผู้สร้างสรรค์ขาดแรงจูงใจ (incentive) ในการสร้างสรรค์
ิ
งานใหม่ ๆ เพราะการสร้างสรรค์งานใหม่ ๆ ก็มีผลดีในทางเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน ซ่งก็มีคําวินิจฉัย
ึ
ของศาลต่างประเทศที่วินิจฉัยว่าการ linking หรือ framing ไปยังงานที่มีบุคคลอื่นกระทําละเมิด
ี
ิ
ื
ไว้อยู่ก่อนแล้วให้ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ ดังน้แล้ว ไม่ว่าการใช้และตีความกฎหมายในเร่อง
ี
ี
ดังกล่าวจะเป็นแบบใด คงหลีกเล่ยงไม่ได้ท่จะต้องคํานึงถึงนโยบายในทางเศรษฐกิจและสังคม
ี
ื
ประกอบกันเพราะถือเป็นเจตนารมณ์พ้นฐานสากลของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาดังท่ปรากฏ
ใน TRIPs Article 7 และในขณะเดียวกันก็ต้องคํานึงถึงความยืดหยุ่นของตัวบทกฎหมายที่บังคับ
ใช้และระบบกฎหมายภายในเพ่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมสูงสุดและในขณะเดียวกันก็สามารถ
ื
ธํารงไว้ซึ่งหลักการปกครองโดยกฎหมาย (the Rule of Law) ให้อยู่คู่กับสังคมต่อไป
189