Page 224 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 224

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                                             ี
            วางแผนดําเนินธุรกิจ รวมไปถึงอาจโดนค่าปรับทางภาษีหากมีการเสียภาษีท่ไม่ถูกต้อง นอกจากน  ้ ี
            ระบบภาษีที่ยุ่งยากและซับซ้อนยังก่อให้เกิดความเสียหายในทางเศรษฐกิจได้อีกด้วย เนื่องจาก
                                                         ี
            เคยมีการศึกษาว่า หากประเทศใดมีระบบภาษีท่ซับซ้อนและไม่ชัดเจนจะส่งผลกระทบต่อ
            ความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างประเทศที่จะเข้ามาลงทุนภายในประเทศอย่างมาก 8

                    ในด้านความเท่าเทียมและยุติธรรมทางภาษีนั้น มีความหมายว่า ภาระทางภาษีสมควร
            ท่จะถูกกระจายอย่างเท่าเทียมระหว่างผู้เสียภาษี เพราะประชาชนทุกคนสมควรท่จะต้องรับ
                                                                                      ี
              ี
                                      ื
            ภาระค่าใช้จ่ายของรัฐท่ใช้เพ่อประโยชน์สาธารณะ ส่งผลให้ภาษีจะต้องมีความสอดคล้องกับ
                                 ี
                                                                               ี
                                                                            ื
            ความสามารถในการเสียภาษีไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลเพ่อท่จะก่อให้เกิดความ
                        9
                           ึ
                                                       ั
            เท่าเทียมกัน  ซ่งในทางทฤษฎีความเท่าเทียมน้นยังถูกแบ่งออกเป็นเป็นอีกสองประเภท คือ
            ความเท่าเทียมในแนวนอน (Horizontal Equity) และความเท่าเทียมในแนวตั้ง (Vertical Equity)
                    ในขณะท่ หลักความเท่าเทียมในแนวนอน มีแนวคิดว่า แต่ละบุคคลท่มีความเท่าเทียมกัน
                                                                              ี
                           ี
                                                             ี
                                    ี
                                                 ั
                                          10
            ก็จะต้องรับภาระทางภาษีท่เท่ากัน  ดังน้น ผู้เสียภาษีท่อยู่ในสภาพการณ์เดียวกันจึงสมควรท ี ่
            จะเสียภาษีในจํานวนเท่า ๆ กัน เพ่อให้เกิดความยุติธรรมทางภาษ แต่หลักความเท่าเทียมใน
                                            ื
                                                                       ี
                                                                                             ั
                                                                           ี
            แนวตั้ง มีแนวคิดว่า ภาระทางภาษีจะไม่เท่าเทียมกัน สําหรับบุคคลท่ไม่เท่าเทียมกัน ดังน้น
            จึงหมายความว่า ผู้เสียภาษีที่อยู่ในสภาพการณ์ที่ดีกว่า ย่อมมีภาระทางภาษีมากกว่าผู้เสียภาษี
            ที่อยู่ในสภาพการณ์ที่ด้อยกว่าได้  โดยอาศัยหลักการที่ว่า บุคคลที่อยู่ในสภาพที่ต้องการความ
                                         11
                                                                                       ี
            ช่วยเหลือมากกว่า สมควรได้รับการดูแลจากรัฐมากกว่า ในขณะท่บุคคลท่อยู่ในสถานะท่สามารถ
                                                                           ี
                                                                    ี
                                          ี
                                                                       ั
                                                         ่
                                                              12
                                          ่
                                              ้
                                                  ั
                                                                             ิ
                      ั
                                                                                ื
                  ้
              ่
            จายใหแก่รฐได้มากกว่า กสมควรทจะใหแก่รฐมากกวาด้วย  ตามหลกแนวคดเร่องความสามารถ
                                  ็
            ในการเสียภาษี (Ability to Pay)
                    เม่อเป็นเช่นน้น การท่จะมีความเท่าเทียมกันและยุติธรรมทางภาษีได้ จะต้องอาศัย
                                        ี
                      ื
                                ั
                                                                                  ี
                                                                                   ี
                                                                                   ่
                                                                                             ั
                                                                                         ี
                             ุ
                                  ี
                    ิ
            การให้นยามว่า บคคลทอย่ในสภาพการณ์เดยวกนเป็นอย่างไร ภาระทางภาษทเท่าเทยมกน
                                                    ี
                                                        ั
                                  ่
                                     ู
            เป็นอย่างไร ภาระทางภาษีที่เหมาะสมต่อความสามารถการเสียภาษีเป็นอัตราเท่าใด แต่การให้

                    8   John Tiley and Glen Loutzenhiser, Revenue Law: Introduction to UK Tax Law (Oxford: Hart Publishing
            Ltd, 2012), at 1.3.4.
                    9   Christiane Malke, Taxation of European Companies at the Time of Establishment and Restructuring,
            p. 17.
                    10   Parthasarathi Shome, Tax Policy Handbook (Washington DC: IMF Graphics Section, 1995), p. 30.
                    11   OECD, Addressing the Tax Challenges of the Digital Economy, p. 21.
                    12   Steuerle Eugene, Contemporary U.S. Tax Policy, Second Edition (Washington DC: The Urban Institute
            Press, 2008), p. 11.
            222
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229