Page 228 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 228

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                    มีข้อสังเกตว่า นักกฎหมายบางท่านให้ความเห็นว่า ฐานภาษีรายได้แบบ Schedular
                                                                                   ี
            ก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าแบบ Global หลายประการ เพราะการจําแนกแหล่งท่มาของรายได้
            ทําให้เกิดความลําบากในการจัดเก็บและการตรวจสอบ จึงก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายด้านการบริหาร

               ื
                             ี
                                                 ี
            เน่องจากเจ้าหน้าท่ต้องตรวจสอบแหล่งท่มาของเงินได้ของผู้เสียภาษีเพ่อพิจารณาตามอัตรา
                                                                            ื
            ภาษีเงินได้แต่ละประเภท
                    นอกจากน้ ฐานภาษีรายได้แบบ Schedular ยังทําให้เกิดความไม่เท่าเทียมระหว่างผู้มีรายได้
                            ี
            ที่เท่าเทียมกันแต่มาจากคนละแหล่งเงินได้ ซึ่งไม่สอดคล้องกับแนวคิดเรื่องความสามารถในการ
            เสียภาษี (Ability to Pay) และหลักความเท่าเทียมในแนวนอน (Horizontal Equity) เนื่องจากเมื่อ

                                                                          ี
                             ี
            ถือว่าแต่ละบุคคลท่มีความเท่าเทียมกันเพราะมีรายได้เท่ากัน ก็สมควรท่จะต้องรับภาระทางภาษ ี
            ที่เท่ากันด้วย
                    ข้อเสียอีกประการหน่งของฐานภาษีแบบ Schedular คือการทําให้ผู้เสียภาษีพยายาม
                                      ึ
                                                                     ่
                                                                    ี
                                                        ี
                                                                     ํ
                                                                                          ี
              ี
            ท่จะจําแนกประเภทของเงินได้ให้อยู่ในประเภทท่มีอัตราภาษีท่ตาด้วยการวางแผนภาษ  ซึ่ง
                                                                                          21
                                           ี
                                     ึ
                                        ั
                                                                ี
                                                                           ี
            ส่งเหล่าน้ก่อให้เกิดรายจ่ายข้น ท้งท่ค่าใช้จ่ายเหล่าน้สมควรท่จะเป็นภาษีท่รัฐสามารถเรียกเก็บได้
                                                         ี
              ิ
                     ี
            แต่จะเห็นได้ว่า ปัญหาเหล่านี้จะไม่เกิดขึ้นหากคิดฐานภาษีรายได้แบบ Global เพราะฐานภาษี
            ลักษณะนี้จะไม่มีการจําแนกแหล่งที่มาของรายได้ แต่คิดรายได้ทั้งหมดรวมกัน
                                             ่
                                                      ็
                                              ี
                                                   ั
                                                                  ั
                                                               ั
                    อนง สําหรบฐานภาษรายไดทมการจดเกบในปจจบนยงอาจจาแนกไดเปนอก 2 ประเภท
                                                                        ํ
                                                           ั
                                                              ุ
                                             ี
                                                                                    ี
                      ึ
                      ่
                             ั
                                      ี
                                                                               ้
                                           ้
                                                                                 ็
            คือ ฐานภาษีรายได้บุคคลธรรมดา ซ่งเป็นการจัดเก็บจากรายได้ของบุคคลธรรมดาท่มีรายได้ และ
                                           ึ
                                                                                   ี
            ฐานภาษีรายได้ของนิติบุคคล ซึ่งเป็นการจัดเก็บจากผลกําไรของนิติบุคคลอีกด้วย
                    1.3.2 ฐานภาษีการบริโภค (Consumption Base)
                    ฐานภาษีรูปแบบท่สอง คือ ฐานภาษีการบริโภค โดยฐานภาษีการบริโภคมีหลักจาก
                                    ี
            แนวคิดว่า เมื่อบุคคลนําทรัพยากร หรือทรัพย์สิน ไปใช้เพื่อการบริโภค ก็สมควรที่จะต้องชําระ
                                                              22
            ค่าใช้จ่ายบางส่วนที่เกิดจากการบริโภคคืนให้แก่สังคมด้วย
                    ฐานภาษีการบริโภคจะมีความแตกต่างกับฐานภาษีรายได้ เพราะเป็นการคิดภาษีจาก
            ช่วงเวลาที่การทําธุรกรรมไม่ว่าจะเป็นการซื้อขายสินค้าหรือการใช้บริการ ซึ่งอาจคิดในช่วงเวลา
            ที่เป็นการขายต่อไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม หรืออาจคิดจากธุรกิจเมื่อมีการ
                                   ื
            ทําธุรกรรมต่อกัน หรือเม่อมีการบริโภคสินค้าบางจําพวกท่มีการกําหนดภาษีเอาไว้โดยเฉพาะ
                                                                ี
                    21   Victor Thuronyi, Tax Law Design and Drafting Volume 2 (Washington DC, International Monetary Fund
            Publication Services, 1998), pp. 495 - 497 .
                    22   Steuerle Eugene, Contemporary U.S. Tax Policy, Second Edition, p. 22.
            226
   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233