Page 244 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 244

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                              ิ
            กรณีเกษตรกรรมเท่ากับเป็นการส่งเสรมให้ประชาชนประกอบเกษตรกรรม จึงไม่สอดคล้องกบ
                                                                                             ั
                    ื
            แนวคิดเร่องความเป็นกลางทางภาษี และส่งผลกระทบต่อการตัดใจประกอบธุรกิจของประชาชน
                                                                ื
                    นอกจากน้ หากพิจารณาประกอบว่าธุรกิจประเภทอ่น ๆ ก็มีผลกระทบต่อสวัสดิภาพของ
                             ี
            ประชาชน และมีผลต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาวโดยตรง จึงเป็นกิจการที่สมควรจะได้รับ
            การส่งเสริม ด้วยการจัดเก็บภาษีในอัตราเดียวกัน เช่น โรงพยาบาล สถานรักษาพยาบาล คลินิก
            เวชกรรม โรงเรียน สถานฝึกสอนการประกอบอาชีพ เพื่อทําให้เกิดความเป็นกลาง แต่แนวคิด
                                                                 ี
                                                     ี
            ดังกล่าวก็ไม่ได้ปรากฏอยู่ในพระราชบัญญัติน้โดยตรง ท้งน้ แม้ว่า มาตรา 55 จะกําหนดให้
                                                              ั
                                         ิ
            สามารถลดภาษีสําหรับท่ดินหรือส่งปลูกสร้างบางประเภท เพ่อให้เหมาะสมกับสภาพความจําเป็น
                                                                ื
                                  ี
                                                                    ี
            ทางเศรษฐกิจ สังคม เหตุการณ์ กิจการ หรือสภาพแห่งท้องท่ โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
                                                              ั
              ึ
              ่
                                                ี
                                                         ี
                                                           ํ
            ซงต่อมาได้มีการประกาศพระราชกฤษฎกาลดภาษสาหรบท่ดินและส่งปลกสร้างบางประเภท
                                                                         ิ
                                                                 ี
                                                                             ู
            พ.ศ. 2563 แต่หลักเกณฑ์เหล่าน้สามารถเปล่ยนแปลงได้ง่าย และทําให้เกิดความไม่แน่นอน
                                          ี
                                                     ี
            ในการตัดสินใจประกอบธุรกิจของประชาชน
                    3.2  วิเคราะห์ปัญหาเรื่องความเท่าเทียมและยุติธรรม (Equity and Fairness)
                    ปัญหาที่จะทําการวิเคราะห์มีว่า พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562
            มีความสอดคล้องกับหลักการทางภาษีเรื่องความเท่าเทียมและยุติธรรมเพียงใด
                    หากพิจารณาถึงความเท่าเทียมกันในแนวนอน (Horizontal Equity) จะพบว่า พระราชบัญญัต  ิ
            ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ไม่สอดคล้องกับหลักการดังกล่าว เนื่องจากมีบทบัญญัติ
            ที่ทําให้การเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างไม่เท่าเทียมกัน
                    ความเท่าเทียมกันในแนวนอนจะเป็นการปฏิบัติต่อบุคคลที่เท่าเทียมกันอย่างเท่าเทียม
            กัน ดังนั้น บุคคลที่เป็นเจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่มีมูลค่าเท่ากันจึงต้องรับผิดชอบในภาระ
                                                            ี
            ทางภาษีท่เท่าเทียมกัน  เม่อพิจารณาว่าฐานภาษีท่นํามาใช้ตามพระราชบัญญัติน้คือฐาน
                                      ื
                      ี
                                                                                        ี
                                 46
                                                            ิ
                                                                                 ี
                          ั
            ทรัพย์สิน ดังน้น ผู้ครอบครองทรัพย์สิน (ท่ดินและส่งปลูกสร้าง) ก็สมควรท่จะต้องเสียภาษ  ี
                                                    ี
            ในอัตราที่เท่าเทียมกัน โดยไม่ต้องพิจารณาถึงลักษณะการใช้ประโยชน์ และไม่ต้องพิจารณาถึง
            สถานะของเจ้าของว่าเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล เพราะด้วยหลักความเท่าเทียม ภาระ
                                                                                        ี
            ทางภาษต้องมการกระจายอย่างเท่าเทียมระหว่างผ้เสยภาษี ประชาชนทุกคนสมควรท่จะต้อง
                                                            ี
                         ี
                    ี
                                                          ู
            รับภาระค่าใช้จ่ายของรัฐที่ใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะ และจากการที่ที่ดินของตนได้รับประโยชน์
                                                                                           ํ
                                                                                           ้
            ในบริการของรัฐ ทําให้เจ้าของที่ดินทุกประเภทสมควรที่จะเสียภาษีในลักษณะที่ไม่เหลื่อมลากัน
                    46   William McCluskey, Gary Cornia and Lawrence Walters, A Primer on Property Tax Administration and
            Policy, p. 175.
            242
   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249