Page 422 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 422
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ิ
ี
ั
้
็
ุ
้
ั
่
ู
ฟื้นฟกจการต่อไป ถ้าในระหว่างนนระยะเวลาตามแผนสนสดลงแล้ว แต่เป็นทเหนได้ชดว่า
ิ
แผนดําเนินการมาใกล้จะสําเร็จแล้ว ศาลจะขยายระยะเวลาดําเนินการตามแผนต่อไปอีก
ตามควรแก่กรณีก็ได้ แต่หากปรากฏว่าเม่อครบระยะเวลาดําเนินการตามแผนแล้วการฟื้นฟูกิจการ
ื
ั
ื
ยังไม่เป็นผลสําเร็จตามแผน เม่อผู้บริหารแผน ผู้บริหารแผนช่วคราวหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
แล้วแต่กรณี รายงานให้ศาลทราบ ศาลจะนัดพิจารณาเป็นการด่วนโดยพิจารณาพยานหลักฐาน
ี
ี
ในสํานวนและฟังคําช้แจงของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหน้ และคําคัดค้านของลูกหน ้ ี
้
ี
ี
ู
ี
็
้
็
ู
ั
ิ
ั
่
ั
ํ
ถ้าศาลเหนสมควรให้ลกหนล้มละลายศาลจะมคาสงพทกษ์ทรพย์ของลกหนเดดขาด
แต่ถ้าศาลไม่เห็นสมควรให้ลูกหนี้ล้มละลาย ศาลจะมีคําสั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ
ิ
ี
ี
แม้วตถประสงค์ของกระบวนพจารณาคดล้มละลายและคดฟื้นฟูกจการจะมส่วนท ่ ี
ั
ิ
ี
ุ
คล้ายกันคือ ต้องการให้มีการจัดการรวบรวมทรัพย์สินของลูกหน้ผู้มีหน้สินล้นพ้นตัวเพ่อนํามา
ี
ี
ื
จัดสรรชําระหน้ให้แก่เจ้าหน้ท้งหลายอย่างเป็นธรรม แต่อย่างไรก็ตาม สําหรับคดีฟื้นฟูกิจการ
ี
ั
ี
ึ
ี
ยังมีวัตถุประสงค์ท่เป็นหลักสําคัญซ่งแตกต่างจากคดีล้มละลายคือ การทําให้กิจการของลูกหน ้ ี
ี
ั
สามารถดําเนินธุรกิจต่อไปได้ และให้เจ้าหน้ท้งหลายได้รับชําระหน้ไม่น้อยกว่ากรณีท ี ่
ี
ี
ี
ศาลพิพากษาให้ลูกหน้ล้มละลาย ดังน้น หากกิจการของลูกหน้ยังมีศักยภาพท่จะสามารถพลิกฟื้น
ี
ั
ึ
ข้นมาได้และมีช่องทางในการฟื้นฟูกิจการโดยมีวิธีการจัดการให้การฟื้นฟูกิจการเป็นผลสําเร็จ
ี
ี
แต่ประสบปัญหาในการเจรจาปรับโครงสร้างหน้กับเจ้าหน้ท่มีจํานวนมาก การใช้กระบวนการ
ี
ตามกฎหมายฟื้นฟูกิจการเพื่อปรับโครงสร้างหนี้และโครงสร้างกิจการอาจถือได้ว่า เป็นแนวทาง
ี
ี
การแก้ไขปัญหาทางการเงินของลูกหน้ท่มีประสิทธิภาพ เพราะแม้จะมีข้นตอนทางกฎหมาย
ั
ท่ซับซ้อนแต่ก็มีกลไกท่ช่วยรักษามูลค่าของกิจการลูกหน้ในระหว่างกระบวนการฟื้นฟูกิจการ แต่
ี
ี
ี
ั
ี
ี
ู
้
ิ
ี
ื้
่
่
ิ
หากกจการของลกหนเป็นกจการทไม่มีศกยภาพทจะแข่งขันและไม่มีชองทางในการฟนฟูกจการได ้
่
ิ
การเข้าสู่กระบวนการชําระบัญชีหรือล้มละลายเพ่อนําทรัพย์สินของกิจการออกขายนําเงิน
ื
มาชําระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ทั้งหลายภายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย ก็อาจเป็นประโยชน์แก่เจ้าหนี้
ลูกหนี้ และผู้มีส่วนได้เสียมากกว่า
สภาพปัญหาของธุรกิจสายการบินในประเทศไทยในช่วงสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโควิด-19
ี
สภาพเศรษฐกิจและสังคมท่เปล่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในช่วงประมาณ 10 ปี
ี
ี
ท่ผ่านมา ทําให้องค์กรธุรกิจเกือบทุกประเภทต้องแข่งขันกันในทางการค้าเพ่อให้ธุรกิจอยู่รอด
ื
ธุรกิจอุตสาหกรรมการบินก็เช่นกัน ท่ต้องประกอบกิจการภายใต้การแข่งขันท่สูงมาก ท้งใน
ี
ี
ั
420