Page 427 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 427
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
บทบาทของศาลล้มละลายกลางในเชิงกฎหมายสารบัญญัติ คือการใช้ดุลพินิจอํานาจทาง
ี
ื
ี
ตุลาการ อันเป็นบทบาทในทางเศรษฐกิจเพ่อคุ้มครองเจ้าหน้ให้ได้รับชําระหน้อย่างเป็นธรรมและ
เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เจ้าหนี้ทั้งหลายตลอดจนระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งทําให้ลูกหนี้
ยังดําเนินกิจการต่อไปได้อันจะเป็นประโยชน์ท้งแก่ลูกหน้ ลูกจ้าง และผู้ประกอบธุรกิจร่วมกับ
ี
ั
ลูกหน้ เช่น ในคดีฟื้นฟูกิจการ ศาลจะทําหน้าท่เป็นกลไกกลางเข้ามากํากับการปรับโครงสร้าง
ี
ี
ั
ี
หน้และโครงสร้างกิจการตามแผน โดยศาลมีอํานาจทําคําส่งให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ
ด้วยแผนฟื้นฟูกิจการ ในข้อนี้ศาลจําเป็นต้องพิจารณาข้อคัดค้านของลูกหนี้หรือเจ้าหนี้เสียงข้าง
น้อย อันเป็นการรักษาสิทธิและอํานาจการเจรจาต่อรองระหว่างเจ้าหนี้เสียงข้างมากและเจ้าหนี้
เสียงข้างน้อย รวมถึงลูกหนี้ให้เกิดความเป็นธรรมด้วยเช่นกัน แตกต่างไปจากการปรับโครงสร้าง
่
้
่
ี
่
ื
้
่
หนนอกศาลซึงเป็นเรองการเจรจาต่อรองระหวางเจาหนและลูกหนเฉพาะรายเทานนโดยศาลจะ
ั
ี
้
้
ี
้
ื
ี
ั
ี
ไม่ได้เข้ามาเก่ยวข้อง ท้งน้ ในการพิจารณาแผนฟื้นฟูกิจการของศาลจะให้ความสําคัญในเร่อง
รูปแบบและเนื้อหาตามที่กฎหมายกําหนด โดยศาลจะพิจารณาในภาพรวมว่า เนื้อหาของแผน
ี
ฟื้นฟูกิจการขัดต่อกฎหมายหรือไม่ เช่น ขัดต่อบทบัญญัติหรือกฎหมายท่เก่ยวด้วยความสงบ
ี
ี
ั
ี
เรียบร้อยหรือไม่ แผนมีความเป็นธรรมต่อท้งเจ้าหน้เสียงข้างน้อยและเจ้าหน้เสียงข้างมากหรือไม่
และผู้ทําแผนทําแผนโดยสุจริตหรือไม่ อันเป็นการใช้อํานาจทางตุลาการเพ่อคุ้มครองเจ้าหน ี ้
ื
เสียงข้างน้อยให้ได้รับความเป็นธรรมโดยเท่าเทียม หากศาลพิจารณาแล้วเห็นว่าแผนฟื้นฟูกิจการ
ี
ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่เป็นธรรมหรอเป็นการเลอกปฏบติ ศาลมอานาจทจะไม่เหนชอบด้วย
ั
ิ
ํ
ื
็
่
ี
ื
ในแผนฟื้นฟูกิจการนั้น นอกจากนั้นในขั้นตอนอื่นของกฎหมายฟื้นฟูกิจการก็เปิดโอกาสให้ศาล
ื
ใช้ดุลพินิจของตุลาการเพ่อให้เกิดความเหมาะสมและเป็นธรรมตามข้อเท็จจริงแต่ละกรณีอีกด้วย
ื
บทบาทของศาลล้มละลายกลางในการแปลและตีความกฎหมาย เน่องจากกฎหมาย
ล้มละลายและกฎหมายฟื้นฟูกิจการของไทยเป็นกฎหมายสําคัญในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
ของประเทศ แต่ยังปรากฏความไม่สมบูรณ์ในบางส่วนของบทบัญญัติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วน
ี
ของกฎหมายฟื้นฟูกิจการ ศาลจึงมีบทบาทสําคัญในการใช้และแปลกฎหมายท่มีอยู่ให้เป็นไป
โดยสุจริตและเป็นแนวบรรทัดฐานให้แก่สังคม เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ที่ประสบปัญหาทางการเงิน
ให้สามารถชําระหนี้แก่เจ้าหนี้ได้โดยเจ้าหนี้ได้รับประโยชน์สูงสุด นอกจากนั้น ศาลยังมีบทบาท
ื
ในการตีความกฎหมายเพ่อให้เกิดการบังคับใช้ได้และให้เกิดการขับเคล่อนในทางเศรษฐกิจของ
ื
ึ
ี
ประเทศ รวมถึงการตีความให้สอดคล้องกับแนวคิดซ่งเป็นท่ยอมรับกันในสังคมของประเทศและ
ั
ื
ึ
สากล เช่น ในเร่องการขอแก้ไขแผนฟื้นฟูกิจการ ซ่งการขอแก้ไขแผนน้น เจ้าหน้จะต้องปฏิบัต ิ
ี
ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 90/45 และการที่ศาลจะพิจารณาแผนที่มี
425