Page 431 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 431

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                         มาตรการทางกฎหมายกับการแก้ไขปัญหาลูกหนี้

                         ที่ประสบปัญหาทางการเงิน ในช่วงวิกฤตโควิด-19




                                                                            วิรัตน์  วิศิษฏ์วงศกร*




                    นับต้งแต่ช่วงต้นปี  2563  สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อไวรัสโควิด-19
                        ั
                                                                               ื
                                                             ั
                                                                       ื
                                                                             ี
            ทวีความรุนแรงและขยายขอบเขตไปในหลายประเทศท่วโลกและเม่อวันท่ 11 มีนาคม 2563
                                                                     ั
            องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศให้เป็นการแพร่ระบาดคร้งใหญ่ (Pandemic) มาตรการ
                             ี
            ควบคุมการระบาดท่เข้มงวดและการจํากัดการเดินทางในประเทศและระหว่างประเทศส่งผลกระทบ
            ต่อเศรษฐกิจและตลาดการเงินโลกรวมท้งประเทศไทยซ่งมีภาพรวมเศรษฐกิจท่ชะลอตัวลง
                                                                                    ี
                                                               ึ
                                                 ั
            โดยธนาคารแห่งประเทศไทยคาดการณ์ว่าปี 2563 ประเทศไทยมีค่าผลิตภัณฑ์รวมในประเทศ
                                                      ี
            (GDP)  ติดลบที่ร้อยละ -6.6 ซ่งติดลบมากท่สุดนับจากวิกฤตทางเศรษฐกิจปี 2540 และ
                                          ึ
                  1
                                   ื
            หากการแพร่ระบาดของเช้อไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ช่วงต้นปี 2564 ไม่รุนแรงมาก เศรษฐกิจไทย
            คาดว่าจะฟื้นกลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 3.2 แต่เศรษฐกิจจะพลิกฟื้นกลับมาเท่ากับช่วงก่อนเกิด
                                                           ํ
            การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ต้องใช้เวลาไม่ตากว่า 2 ปี 2
                                                           ่
                                                           ื
                                              ื
                    สําหรับวิกฤตทางเศรษฐกิจเม่อปี 2540 เพ่อแก้ไขปัญหาดุลการชําระเงินระยะสั้น
            ประเทศไทยได้ขอความช่วยเหลือทางการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International
            Monetary Fund : IMF) และดําเนินการออกกฎหมายจํานวน 11 ฉบับ ตามเกณฑ์ปฏิบัต           ิ
            (performance criteria) ท่ได้ผูกพันไว้ในจดหมายแสดงเจตจํานง (Letter of Intent) โดยกลุ่มกฎหมาย
                                 ี
                        ิ
            ท่เป็นการเพ่มประสิทธิภาพความสะดวกรวดเร็วในการบริหารจัดการหน้สินทางธุรกิจของ
              ี
                                                                               ี
                                                                   ี
            ภาคเอกชนมี 5 ฉบับ ได้แก่ (1) พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับท่ 5) พ.ศ. 2542 (ปรับปรุงกฎหมาย
            ในส่วนล้มละลายและฟื้นฟูกิจการ) (2) พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดี
            ล้มละลาย  พ.ศ.  2542  (ปรับปรุงหลักเกณฑ์การอุทธรณ์คดีล้มละลายและฟื้นฟูกิจการ)
                                                                                 ี
                                    ิ
            (3) พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับท่ 17) พ.ศ. 2542

                    *  ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ประจํากองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
                    1   GDP (Gross Domestic Product) = Consumption + Investment + Government  Spending + (Export – Import)
                    2   สรุปประมาณการเศรษฐกิจและเงินเฟ้อ ธันวาคม 2563, เว็บไซต์ธนาคารแห่งประเทศไทย, https://www.bot.or.th/
            thai/MonetaryPolicy/MonetaryPolicyComittee/MPR/Pages/default.aspx



                                                                                             429
   426   427   428   429   430   431   432   433   434   435   436