Page 432 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 432
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ิ
(ปรับปรุงวิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่) (4) พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2542 (ปรับปรุงการบังคับคดี) และ (5) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ั
ี
ี
ั
ประมวลกฎหมายวิธพิจารณาความแพ่ง (ฉบับท่ 19) พ.ศ. 2542 (ปรบปรุงการพิจารณาโดยขาดนด)
3
ี
ื
ิ
ิ
่
ี
และเพ่อแก้ไขปัญหาลูกหน้ทประสบปัญหาทางการเงินในช่วงวกฤตทางเศรษฐกจปี 2540
ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศวันที่ 31 มีนาคม 2541 เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การระงับ
การรับรู้ดอกเบ้ยค้างรับเป็นรายได้ การจัดช้นลูกหน้ การกันเงินสํารองหน้สูญของสถาบันการเงิน
ี
ี
ี
ั
และออกประกาศเรื่อง หลักเกณฑ์การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ และหลักเกณฑ์การประเมินมูลค่า
ิ
ึ
ิ
ิ
ั
ั
ั
ั
ี
ั
้
ุ
ั
หลกประกนของสถาบนการเงน ให้สถาบนการเงนพงปฏบตในการปรบปรงโครงสร้างหน
ิ
4
ต่อมาคณะกรรมการร่วมภาครัฐบาลและเอกชนเพ่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.) ได้มีมต ิ
ื
เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2541 ในการประชุมครั้งที่ 1/2541 ให้จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อส่งเสริม
การปรับปรุงโครงสร้างหน้ (คปน.) ข้น เพ่อส่งเสริมการเจรจาปรับปรุงโครงสร้างหน้ระหว่างภาคเอกชน
ี
ี
ื
ึ
และสถาบันการเงิน และต่อมาเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2542 คปน. โดยธนาคารแห่งประเทศไทย
ี
ั
ื
ได้ออกข้อบังคับจัดต้งสํานักงานคณะกรรมการเพ่อส่งเสริมการปรับปรุงโครงสร้างหน้ (สปน.)
มีวัตถุประสงค์ให้ลูกหน้และสถาบันการเงินทุกฝ่ายท่เก่ยวข้องร่วมมือกันเจรจาปรับปรุงโครงสร้างหน ี ้
ี
ี
ี
ี
ี
ส่วนปัจจุบันการแก้ไขปัญหาลูกหน้ท่ประสบปัญหาทางการเงินในช่วงวิกฤตโควิด-19
ซึ่งต้นเหตุของปัญหาแตกต่างจากวิกฤตทางเศรษฐกิจปี 2540 ที่เกิดจากการก่อหนี้จํานวนมาก
ของภาคธุรกิจ (Business Sector) การดําเนินการผิดพลาดทางนโยบายทางการเงินของภาครัฐ
(Government) ในการเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงิน และการขาดระบบการให้สินเชื่อ
ี
ี
5
ั
ี
และการติดตามหน้ท่มีประสิทธิภาพของสถาบันการเงิน แต่วิกฤตทางเศรษฐกิจคร้งน้เกิดจาก
ปัจจัยภายนอกของการแพร่ระบาดเช้อไวรัสโควิด-19 มาตรการจําเป็นด้านสาธารณสุขทําให้ม ี
ื
ั
การลดกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการบริโภคส่งผลกระทบในวงกว้างต่อรายได้ท้งภาคธุรกิจและ
ู
ี
้
ภาคครวเรอน (Households) ไม่ว่าจะเป็นลกหนธรกจขนาดใหญ่ ลกหนธรกจขนาดกลางและ
ิ
ุ
ู
้
ั
ุ
ื
ิ
ี
ขนาดย่อม (SMEs) รวมท้งลูกหน้รายย่อย นโยบายทางการเงินและมาตรการช่วยเหลือทางการคลัง
ี
ั
ื
จึงจําเป็นในการยืดเวลาเพ่อให้ธุรกิจและระบบการเงินสามารถอยู่รอดได้จนกว่าการระบาด
ื
ของเช้อไวรัสโควิด-19 หมดไปหรือมีวัคซีนรักษาโรคได้สําเร็จทําให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจกลับมา
3 คณะกรรมาธิการการต่างประเทศวุฒิสภา (2546). รายงานการพิจารณาศึกษาเร่องผลกระทบของการบังคับใช้
ื
กฎหมาย 11 ฉบับ. สํานักกรรมาธิการ 2 สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
4 หนังสือที่ ธปท.ง.(ว) 1837/2541, หนังสือที่ ธปท.ง.(ว) 2112/2542
5 คณะกรรมการศึกษาและเสนอแนะมาตรการเพ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการเงินของประเทศ (2542).
ิ
รายงานผลการวิเคราะห์และวินิจฉัยข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิกฤตทางเศรษฐกิจ. มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย.
430