Page 9 - (Final) A MIL Survey in Thailand 2019 20190130 TH (MINI)-Edit
P. 9

9





                                           วัตถุประสงคของการสํารวจ



                    1. เพื่อสํารวจสถานภาพการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ และการเขาใจดิจิทัลของ
            ประเทศไทยตามกรอบการประเมินในระดับสากลของ UNESCO ใหไดขอมูลที่เปนตัวแทน

            สะทอนถึงสถานะปจจุบันของการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ รวมทั้งการเขาใจดิจิทัล

            ในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และจังหวัด

                    2. เพื่อใหมีขอมูลมหภาคเชิงลึกเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชเทคโนโลยีดิจิทัล ความรูความ

            เขาใจ และสถานภาพการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศและการเขาใจดิจิทัลของประชาชนไทย
            ประกอบการวิเคราะหจัดทําแนวทาง นโยบาย มาตรการในการสงเสริมการพัฒนาตนเองใหกาวสู

            การเปนพลเมืองดิจิทัล ในบริบทของสังคม จําแนกตามกลุมเปาหมาย ในการสนับสนุนและ

            สงเสริมการพัฒนาบุคลากรในแตละจังหวัดในการพัฒนาเทคโนโลยีใหสนับสนุนชีวิตประจําวัน

            สอดคลองกับแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม



                                               กรอบการสํารวจขอมูล



                    กรอบการจัดเก็บและประเมินการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ (Media and Information

            Literacy Assessment Framework) ของ UNESCO ไดกําหนดตัวชี้วัด จํานวน 3 ตัวชี้วัด

            ประกอบดวย การเขาถึง (Access) การประเมิน (Evaluation) และ การสราง (Creation)
            การเขาใจดิจิทัล (Digital Literacy : DL) ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

            ไดกําหนดตัวชี้วัด จํานวน 9 ตัวชี้วัด คือ สิทธิและความรับผิดชอบ การเขาถึงสื่อดิจิทัล

            การสื่อสารยุคดิจิทัล ความปลอดภัยยุคดิจิทัล การรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ มารยาท

            ในสังคมดิจิทัล สุขภาพดียุคดิจิทัล ดิจิทัลคอมเมิรซ และ กฎหมายดิจิทัล ตัวชี้วัดขางตน

            ใชเพื่อเปนกรอบแบบสํารวจสถานภาพ เพื่อใหอางอิงตามหลักมาตรฐาน พรอมทั้ง การเก็บ

            สํารวจขอมูลพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับตัวชี้วัด สําหรับใชในการจัดเก็บสํารวจประชาชนไทย

            โดยมีการแบงรูปแบบการสํารวจเปน 2 กลุม คือ กลุมจังหวัดอัจฉริยะ (Smart Province)
            จํานวน 10 จังหวัด เพื่อหาแนวทางศักยภาพดานดิจิทัลสูการพัฒนาเปนเมืองอัจฉริยะ

            และกลุมจังหวัด (Province) จํานวน 67 จังหวัด เพื่อกําหนดเปนสถานภาพของภูมิภาค

            และของประเทศไทย ซึ่งมีการคัดเลือกตัวแทนประชาชน ตามหลักของ Yamane (1973 :

            1088) โดยจะจัดเก็บทั้งสิ้น 10,700 แบบสํารวจ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14