Page 17 - C:\Users\YUT_THAPAKORN\Desktop\รายงานประจำปี\
P. 17
หน้ำ 14
โรคพิษสุนัขบ้า
สถำนกำรณ์โรค/วิเครำะห์ข้อมูล
จำกข้อมูลเฝ้ำระวังโรค 1 มกรำคม ถึงวันที่ 30 กันยำยน 2561 พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำ
จ ำนวน 16 รำย สูงสุดในรอบ
8 ปี จำก 14 จังหวัด ได้แก่
จังหวัดสุรินทร์ สงขลำ ตรัง
นครรำชสีมำ ประจวบคีรีขันธ์
บุ รี รั มย์ (2 ร ำย ) พัทลุ ง
หนองคำย ยโสธร ระยอง
(2รำย) กำฬสินธุ์ มุกดำหำร
ตำก แล ะสุ รำษฎ ร์ ธ ำนี
สัตว์น ำโรคจำกสุนัข 15 รำย
แมว 1 รำย เป็นสัตว์มีเจ้ำของร้อยละ 60 ไม่มีเจ้ำของร้อยละ 40 ผู้เสียชีวิตมำกกว่ำร้อยละ 90 ไม่ได้ไป
พบแพทย์ เพื่อรับกำรรักษำ และไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ำร้อยละ 100 ระยะฟักตัวของโรค
โดยเฉลี่ย 1-9 เดือน นอกจำกนี ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่เสียชีวิตจำกกำรไม่ได้เข้ำรับกำรฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัข
บ้ำ กว่ำครึ่งถูกสุนัขที่ตนเองเลี ยง กัด ข่วน และคิดว่ำไม่เป็นไรท ำให้ไม่เข้ำรับกำรรักษำ จำกฐำนข้อมูลระบบ
รำยงำนผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้ำ (ร.36) พบว่ำ ตั งแต่ปี 2556 เป็นต้นมำ แนวโน้มของกำรฉีดวัคซีนป้องกันโรค
พิษสุนัขบ้ำสูงเพิ่มมำกถึง 1.๘ เท่ำ ข้อมูลผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้ำ ตั งแต่ 1 มกรำคม – 10 กันยำยน 2561
จ ำนวนผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้ำ 351,425 คน ได้รับวัคซีนครบชุด จ ำนวน 318,533 คน คิดเป็นร้อยละ 90.6
และข้อมูลจำกกรมปศุสัตว์ สัตว์พบเชื อโรคพิษสุนัขบ้ำ จ ำนวน 1,255 ตัวอย่ำง จำก 8,001 ตัวอย่ำง คิดเป็น
ร้อยละ 15.7 เพิ่มขึ นจำกปี 2560 ประมำณร้อยละ 4 และมีกำรประกำศเขตโรคระบำดสัตว์ชั่วครำวต่อเนื่อง
หลำยพื นที่ เพื่อก ำหนดพื นที่ควบคุม ทั งหมดโดยประชำกรกลุ่มเสี่ยงนั นกระจำยในประชำกรทุกกลุ่มอำยุ
โดยเฉพำะประชำกรกลุ่มเสี่ยงต่อกำรสัมผัสโรคเป็นเยำวชนที่มีอำยุน้อยกว่ำ 15 ปี จะเห็นได้ว่ำ ในปี 2561
สถำนกำรณ์โรคพิษสุนัขบ้ำทั งในคนและสัตว์ เพิ่มขึ นอย่ำงมีนัยส ำคัญ ประกอบกับจ ำนวนพื นที่เสี่ยงสูงมีเพิ่ม
มำกขึ นจำก 26 จังหวัด เป็น 33 จังหวัด
ผลการด าเนินงาน
มาตรการส าคัญ
มำตรกำรที่ 1 ลดควำมเสี่ยงจำกกำรเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำ โดยอบรมแนวทำงเวชปฏิบัติ
โรคพิษสุนัขบ้ำ ส ำหรับแพทย์และบุคลำกรสำธำรณสุข เพื่อฟื้นฟูควำมรู้ควำมเข้ำใจของแพทย์ต่อแนวทำงกำร
ปฏิบัติเมื่อพบผู้สัมผัสสัตว์สงสัยโรคพิษสุนัขบ้ำ, จัดท ำสื่อประชำสัมพันธ์กำรป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ำ ส ำหรับ
สถำนบริกำรสำธำรณสุข, พัฒนำระบบสำรสนเทศเพื่อประเมินควำมเสี่ยง ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนำระบบ
สำรสนเทศ ประเมินควำมเสี่ยงโรคพิษสุนัขบ้ำส ำหรับประชำชน, สนับสนุนเนื อหำข้อมูลทำงวิชำกำรด้ำนกำร
ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ำในคน สร้ำงควำมตระหนักและลดควำมเสี่ยงจำกกำรถูกสุนัขกัดเพื่อสนับสนุนให้กับ
หน่วยงำนภูมิภำค, กำรทบทวน ปรับปรุง กฎระเบียบ เกี่ยวกับกำรใช้วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้ำ ซึ่งได้มีกำรจัดประชุม