Page 20 - C:\Users\YUT_THAPAKORN\Desktop\รายงานประจำปี\
P. 20

หน้ำ 17



                  โรคเลปโตสไปโรสิส



                  สถานการณ์โรค/วิเคราะห์ข้อมูล


                         โรคเลปโตสไปโรสิส มักเกิดกำรระบำดในช่วงฤดูฝน จำกข้อมูลกำรเฝ้ำระวังโรค รง.560 ป 2561
                  พบผูปวย 2,943 รำย จำก 71 จังหวัด คิดเปนอัตรำปวย 4.50 ตอแสนประชำกร เสียชีวิต 35 รำย
                  เพศชำยตอ่เพศหญิง 1 : 0.22 กลุมอำยุที่พบมำกที่สุด เรียงตำมล ำดับ คือ 45-54 ป (21.75 %) 35-44 ป
                  (18.59 %) 55-64 ป (16.85 %) อำชีพสวนใหญ เกษตร รอยละ 47.4 รับจำงรอยละ 21.8 และนักเรียน

                  รอยละ 10.9 ภำคที่พบอัตรำป่วยสูงสุด ได้แก่ ภำคใต้ รองลงมำคือ ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพำะ
                  ภำคใต้ อัตรำป่วยตำยมีแนวโน้มเพิ่มขึ น จำกกำรสอบสวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคเลปโตสไปโรสิส พบสำเหตุที่เป็น
                  ปัจจัยเสี่ยงส ำคัญ คือ ร้อยละ 100 ของผู้เสียชีวิตไม่ได้ใส่รองเท้ำบู๊ทขณะสัมผัสน  ำเป็นเวลำนำน ร้อยละ 40
                  มีกำรสัมผัสแหล่งน  ำบ่อยครั ง แช่น  ำเป็นเวลำหลำยชั่วโมง หรือมีบำดแผลที่ผิวหนัง และร้อยละ 30 อยู่ในพื นที่

                  น  ำท่วมขัง หรือมีกิจกรรมหำปลำในแหล่งน  ำธรรมชำติ และพบว่ำผู้ที่มีอำกำรรุนแรงหรือเสียชีวิต เมื่อมีอำกำร
                  ป่วยระยะแรกจะไปพบแพทย์ที่คลินิก (ร้อยละ 50) ซื อยำจำกร้ำนขำยยำมำรับประทำนเอง (ร้อยละ 40)
                  เข้ำรับกำรรักษำที่โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพต ำบล (ร้อยละ 20) และเข้ำรับกำรรักษำที่โรงพยำบำลแต่ได้รับ
                  กำรวินิจฉัยว่ำเป็นโรคอื่น (ร้อยละ 10) ทั งนี  อำกำรของโรคเลปโตสไปโรสิสในระยะแรกจะคล้ำยกับโรคติดเชื อ

                  อื่นๆ เช่น โรคไข้หวัด หรือโรคไข้เลือดออก มีไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ำมเนื อ เมื่อรับประทำนยำ
                  อำกำรอำจดีขึ นจนกระทั่งเข้ำสู่กำรด ำเนินโรคในช่วงที่สอง จนผู้ป่วยมีอำกำรรุนแรงหรือเกิดภำวะแทรกซ้อน
                  ได้แก่ ปวดศีรษะรุนแรง ตัวเหลืองตำเหลือง ไตวำย ไอเป็นเลือด และเสียชีวิตในที่สุด ดังนั น ประชำชนควรมี

                  ควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรป้องกันตนเองโดยกำรสวมรองเท้ำบู๊ทเมื่อต้องย่ ำน  ำลุยโคลน อำบน  ำช ำระ
                  ร่ำงกำยทันทีหลังสัมผัสน  ำเป็นเวลำนำน รีบไปพบแพทย์เมื่อสงสัยว่ำเป็นโรคเลปโตสไปโรสิส และแพทย์ควรมี
                  กำรวินิจฉัยโรคได้อย่ำงถูกต้องและรวดเร็ว ซึ่งโรคเลปโตสไปโรสิสมียำปฏิชีวนะที่สำมำรถเลือกใช้ได้จ ำเพำะ
                  เจำะจงกับโรค หำกรักษำได้ทันท่วงทีก็จะช่วยลดควำมเสี่ยงจำกกำรเสียชีวิตได้


                  ผลการด าเนินงาน
                  มาตรการส าคัญ

                           สื่อสำรควำมเสี่ยงและประชำสัมพันธ์ให้แก่หน่วยงำนในพื นที่ภำคใต้ เพื่อเฝ้ำระวังและชี เป้ำเตือนภัย
                  ประชำชนช่วงที่มีฝนตกหนักหรือเกิดภำวะน  ำท่วม

                           ถ่ำยทอดแนวทำงกำรตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคแก่บุคลำกรทำงกำรแพทย์และเจ้ำหน้ำที่
                  สำธำรณสุข เพื่อตรวจจับและวินิจฉัยโรคได้อย่ำงรวดเร็ว ป้องกันกำรเสียชีวิตจำกโรคเลปโตสไปโรสิส
                  ผลการด าเนินงานที่ผ่านมา
                         ในปี 2561 กรมควบคุมโรค ส ำนักโรคติดต่อทั่วไป ร่วมกับชมรมเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย
                  จัดท ำมำตรกำรกำรคัดกรองผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิส ส ำหรับพื นที่ประสบอุทกภัย 4E2C ส ำหรับโรงพยำบำล

                  ส่งเสริมสุขภำพต ำบล/อำสำสมัครสำธำรณสุข ซึ่งมำตรจะมีกำรคัดกรองผู้ป่วยให้รับกำรรักษำ กำรเฝ้ำระวังใน
                  โรงพยำบำลโดยระบบกำรคัดกรองผู้ป่วย กำรประชำสัมพันธ์เพื่อให้ผู้ที่มีอำกำรเข้ำรับกำรคัดกรองอำกำร
                  โดยเร็วที่สุด อีกทั งยังจัดประชุมวิชำกำรโรคเลปโตสไปโรสิสประจ ำปี 2561 “Leptospirosis in 4.0”

                  ณ โรงแรมเซ็นทำรำและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ จังหวัดอุดรธำนี เพื่อพัฒนำศักยภำพบุคลำกรในกำรเฝ้ำระวัง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25