Page 24 - C:\Users\YUT_THAPAKORN\Desktop\รายงานประจำปี\
P. 24
หน้ำ 21
ประชุมเชิงปฏิบัติกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนำรูปแบบกำรด ำเนินงำนป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
กลุ่มเด็กปฐมวัยในชุมชน ระหว่ำงวันที่ 28 – 29 มิถุนำยน 2561 มีผู้ร่วมประชุมจ ำนวน 45 คน
จำกส ำนักงำนป้องกันควบคุมโรค 12 แห่ง สถำบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง ครูผู้ดูแลเด็ก และตัวแทนจำก
13 เขตบริกำรสุขภำพ ที่สำมำรถด ำเนินงำนเฝ้ำระวังป้องกันควบคุมโรคในชุมชนได้อย่ำงต่อเนื่อง จนสำมำรถ
น ำมำเป็นแนวทำงปฏิบัติที่ดี (Best Practice) มำร่วมอภิปรำยและรับประกำศนียบัตร โดยกำรประชุมได้มีกำร
แบ่งกลุ่มเพื่อร่วมวิเครำะห์แนวทำงหรือกระบวนกำรจำกกำรด ำเนินงำนป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
กลุ่มเด็กปฐมวัยในชุมชนของตัวแทนแต่ละพื นที่ เพื่อสรุปเป็นแนวทำงหรือรูปแบบกลำงที่ทุกพื นที่สำมำรถน ำไป
ต่อยอดและประยุกต์ใช้ต่อไปได้และกลุ่มโรคติดต่อในเด็ก ส ำนักโรคติดต่อทั่วไป ได้ร่วมกับส ำนักงำนป้องกัน
ควบคุมโรคและส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัด ศึกษำรูปแบบกำรด ำเนินงำนป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
ในกลุ่มเด็กปฐมวัยในชุมชน จ ำนวน 2 ครั ง ครั งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 มีนำคม 2561 ณ ชุมชนบ้ำนเขำโหรง ต ำบล
น ำผุด อ ำเภอเมือง จังหวัดตรัง พบว่ำ ชุมชนมีกระบวนกำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรพึ่งพำตนเอง สำมำรถ
สร้ำงกำรมีส่วนร่วมในชุมชน และมีทีมป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็ง ซึ่งเป็นปัจจัยส ำคัญที่ท ำให้ชุมชนมีสุขภำพดี
น ำไปสู่ควำมยั่งยืนในกำรป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน โดยสำมำรถสรุปเป็นรูปแบบของชุมชน ที่เรียกว่ำ
“Khaorong Model” ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ องค์ประกอบภำยใน (internal elements)
ได้แก่ 1.ทุนทำงสังคม (social capital) ทั งในด้ำนบุคคล (People) ด้ำนสังคม (Social) ด้ำนสิ่งแวดล้อม
(Environment) และด้ำนวัฒนธรรม (Culture) 2.เครือข่ำยชุมชน (Network) 3.เทคนิค (Technique)
4.กำรสร้ำงแรงจูงใจ (Motivation) 5.กำรปฏิบัติกำร (Action) และองค์ประกอบภำยนอก (external
elements) ที่เป็นส่วนสนับสนุนให้เกิดกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนของชุมขน ได้แก่ หน่วยงำนสำธำรณสุข
หน่วยงำนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงำนเอกชนในพื นที่ และครั งที่ 2 เมื่อวันที่ 14 - 15 มิถุนำยน
2561 ณ อ ำเภอไพศำลี จังหวัดนครสวรรค์ เป็นอ ำเภอที่เคยมีอัตรำป่วยโรคมือเท้ำปำกสูงเป็นล ำดับที่ 39
จำก 878 อ ำเภอ (ปี 2560) โดยกำรผลักดันกำรด ำเนินงำนลดโรคมือเท้ำปำกผ่ำนกลไกคณะกรรมกำรพัฒนำ
คุณภำพชีวิตระดับอ ำเภอ (พชอ.) และกำรดึงภำคีเครือข่ำยในชุมชนเข้ำมำมีส่วนร่วมด ำเนินกิจกรรมและ
โครงกำรต่ำงๆ เช่น กิจกรรมส ำรวจพฤติกรรมสุขภำพโรคมือเท้ำปำก กำรปรับปรุงสภำพแวดล้อมในบ้ำนและ
ชุมชน โครงกำรพัฒนำศักยภำพผู้ปฏิบัติงำนด้ำนกำรป้องกันควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียนประถมศึกษำและ
ศูนย์เด็กเล็ก เป็นต้น ท ำให้สำมำรถด ำเนินงำนลดโรคมือเท้ำปำกและโรคติดต่ออื่นๆในกลุ่มวัยเด็กได้ประสบ
ควำมส ำเร็จในระยะเวลำอันสั นได้อย่ำงรวดเร็ว และได้รูปแบบของชุมชน ที่เรียกว่ำ “Phaisali Modle”
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ กำรท ำงำนเป็นทีม (Team work) กำรสนับสนุน (Support) และกำร
บริหำรจัดกำร (Management) โดยทั งสองรูปแบบดังกล่ำวสำมำรถน ำไปขยำยผลและน ำไปประยุกต์ใช้เป็น
ต้นแบบในบริบทของพื นที่อื่นๆต่อไปได้