Page 73 - C:\Users\YUT_THAPAKORN\Desktop\รายงานประจำปี\
P. 73
หน้ำ 70
3. งบประมำณที่สนับสนุนให้หน่วยงำนระดับ สคร. ไม่เพียงพอและไม่สัมพันธ์กับกิจกรรมกำร
ด ำเนินงำน
4. หน่วยงำนได้รับกำรจัดสรรงบประมำณแต่ละงวด ไม่สอดคล้องกับกิจกรรมและบริบทของพื นที่
ด ำเนินงำน เนื่องจำกในบำงกิจกรรม ต้องเร่งด ำเนินกำรในไตรมำสที่ 1 แล้วงบประมำณที่ได้รับจัดสรรงวดที่ 1
ค่อนข้ำงน้อย ท ำให้เป็นอุปสรรคขำดควำมต่อเนื่องในกำรด ำเนินงำน และงบประมำณที่เหลือจะได้รับจัดสรร
มำกในงวดที่ 2 ซึ่งเริ่มเข้ำสู่ฤดูฝน ท ำให้เป็นอุปสรรคและเกิดอันตรำยต่อเจ้ำหน้ำที่ ในกำรเดินทำงไปยังพื นที่
ด ำเนินงำนและกำรปฏิบัติงำนในพื นที่เป้ำหมำย
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข :
1. ควรเพิ่มระยะเวลำกำรอบรมฟื้นฟูควำมรู้ด้ำนกำรวินิจฉัยโรคหนอนพยำธิ ส ำหรับนักเทคนิคกำรแพทย์
ผู้ปฏิบัติงำนในพื นที่โครงกำรพัฒนำเด็กและเยำวชน ตำมพระรำชด ำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำช
กุมำรี จำกเดิม 2 วัน เป็น 3 วัน และควรเพิ่มแผนค่ำใช้จ่ำยวัสดุ อุปกรณ์ ตัวอย่ำงกำรตรวจวินิจฉัยในโครงกำร
กำรอบรมฟื้นฟูควำมรู้ด้ำนกำรวินิจฉัยโรคหนอนพยำธิ ส ำหรับนักเทคนิคกำรแพทย์ผู้ปฏิบัติงำนในพื นที่
โครงกำรพัฒนำเด็กและเยำวชนตำมพระรำชด ำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
2. ควรมีกำรอบรมนักวิชำกำรสำธำรณสุขและเจ้ำหน้ำที่ที่รับผิดชอบ ให้มีควำมรู้ด้ำนกำรอบรมฟื้นฟู
ควำมรู้ด้ำนกำรวินิจฉัยโรคหนอนพยำธิ ส ำหรับนักเทคนิคกำรแพทย์ผู้ปฏิบัติงำนในพื นที่โครงกำรพัฒนำเด็ก
และเยำวชน ตำมพระรำชด ำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
3. ควรมีกำรจัดสรรงบประมำณเพื่อสนับสนุนงำนด ำเนินงำนของ สคร. ให้เพียงพอต่อกิจกรรมที่ได้รับ
4. ในกำรจัดสรรงบประมำณจำกส่วนกลำงในแต่ละงวดควรจัดสรรให้เพียงพอและเหมำะสมต่อกำร
ด ำเนินงำนในพื นที่
3. แผนงานโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
เป้ำหมำยกำรด ำเนินงำนในปี 2561 คือ จ ำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำ ในปีงบประมำณ 2561
เป็น 0 รำย จำกข้อมูลเฝ้ำระวังโรค 1 มกรำคม ถึงวันที่ 10 กันยำยน 2561 พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำ
จ ำนวน 16 รำย จำก 14 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสุรินทร์ สงขลำ ตรัง นครรำชสีมำ ประจวบคีรีขันธ์ บุรีรัมย์
(2รำย) พัทลุง หนองคำย ยโสธร ระยอง (2รำย) กำฬสินธุ์ มุกดำหำร ตำก และสุรำษฎร์ธำนี สัตว์น ำโรคจำก
สุนัข 15 รำย แมว 1 รำย เป็นสัตว์มีเจ้ำของร้อยละ 60 ไม่มีเจ้ำของร้อยละ 40 ผู้เสียชีวิตมำกกว่ำร้อยละ 90
ไม่ได้ไปพบแพทย์ เพื่อรับกำรรักษำ และไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ำร้อยละ 100 ระยะฟักตัวของโรค
โดยเฉลี่ย 1-9 เดือน นอกจำกนี ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่เสียชีวิตจำกกำรไม่ได้เข้ำรับกำรฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัข
บ้ำ กว่ำครึ่งถูกสุนัขที่ตนเองเลี ยง กัด ข่วน และคิดว่ำไม่เป็นไรท ำให้ไม่เข้ำรับกำรรักษำ จำกฐำนข้อมูลระบบ
รำยงำนผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้ำ (ร.36) พบว่ำ ตั งแต่ปี 2556 เป็นต้นมำ แนวโน้มของกำรฉีดวัคซีนป้องกันโรค
พิษสุนัขบ้ำสูงเพิ่มมำกถึง 1.๘ เท่ำ ข้อมูลผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้ำ ตั งแต่ 1 มกรำคม – 10 กันยำยน 2561
จ ำนวนผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้ำ 351,425 คน ได้รับวัคซีนครบชุด จ ำนวน 318,533 คน คิดเป็นร้อยละ
90.6 และข้อมูลจำกกรมปศุสัตว์ สัตว์พบเชื อโรคพิษสุนัขบ้ำ จ ำนวน 1,255 ตัวอย่ำง จำก 8,001
ตัวอย่ำง คิดเป็นร้อยละ 15.7 และมีกำรประกำศเขตโรคระบำดสัตว์ชั่วครำวต่อเนื่องหลำยพื นที่ เพื่อก ำหนด
พื นที่ควบคุม ทั งหมดโดยประชำกรกลุ่มเสี่ยงนั นกระจำยในประชำกรทุกกลุ่มอำยุ โดยเฉพำะประชำกรกลุ่ม
เสี่ยงต่อกำรสัมผัสโรคเป็นเยำวชนที่มีอำยุน้อยกว่ำ 15 ปี ส ำหรับผลกำรด ำเนินงำนในภำพรวม มีดังนี