Page 77 - C:\Users\YUT_THAPAKORN\Desktop\รายงานประจำปี\
P. 77

หน้ำ 74



                         - ปัจจัยเสี่ยงของผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำ คือ เมื่อถูกสัตว์กัดไม่ได้ไปพบแพทย์เพื่อรับกำรฉีดวัคซีน
                  ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ำหลังสัมผัสโรค และสุนัขไม่มีประวัติกำรรับวัคซีนกัด ซึ่งควำมเสี่ยงต่อกำรพบผู้เสียชีวิต

                  ด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำนี จะยังคงอยู่ตรำบเท่ำที่ยังคงมีสุนัขในชุมชนที่ไม่ได้รับกำรฉีดวัคซีน ดังนั น กำรป้องกัน
                  ควบคุมโรคในสัตว์จึงยังคงเป็นกำรป้องกันควบคุมโรคที่ส ำคัญ
                         - ควำมต้องกำรใช้วัคซีนในคนเพื่อป้องกันโรคในผู้สัมผัสสูงขึ น เนื่องจำกพบเชื อโรคพิษสุนัขบ้ำในสัตว์มำกขึ น
                         - มีควำมต้องกำรกำรสนับสนุนวัคซีนแบบป้องกันโรคล่วงหน้ำ (PrEP) ให้กับ อปศ.จ ำนวนมำกที่

                  ปฏิบัติงำนควบคุมประชำกรสัตว์
                         - กำรใช้โปรแกรมระบบ ร.36 ฐำนข้อมูลมีจ ำนวนมำกใช้เวลำบันทึกข้อมูลมำกกับภำระงำน ไม่เหมำะกับ
                  บริบทห้อง ER รพ.
                         - กำรบูรณำกำรควำมร่วมมือกับเครือข่ำยไม่ประสบควำมส ำเร็จเท่ำที่ควร โดยเฉพำะบริเวณพรมแดน

                         - ไม่สำมำรถติดตำมผู้สัมผัสโรคได้ เนื่องจำก เป็นนักท่องเที่ยว แรงงำนออกนอกพื นที่
                         - แผน DHS หรือแผน พชอ.ไม่ครบตำมที่ก ำหนดเนื่องจำกอ ำเภอนั นไม่พบสัตว์พบเชื อพิษสุนัขบ้ำจึงไม่
                  เป็นปัญหำในพื นที่
                         - พชอ.บำงแห่งยังจัดตั งไม่เสร็จสิ นและตำมกระบวนกำรท ำแผนของ พชอ.ไม่เน้นเรื่องโรค

                         - ในพื นที่มีงบประมำณจ ำกัดในกำรด ำเนินงำนและน ำงบประมำณไปใช้ในกำรป้องกันควบคุมโรคอื่นๆ ที่มี
                  จ ำนวนผู้ป่วยจ ำนวนที่มำกกว่ำ
                         - ขำดกำรเข้ำถึงข้อมูลในระบบ thairabies.net

                         - หลำยจังหวัด มีสุนัขจรจัดมำก แต่ไม่มีศูนย์พักพิง โอกำสเสี่ยงของประชำชนต่อกำรสัมผัสโรคสูง
                  ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข : -
                         หัวใจส ำคัญของกำรป้องกันกำรเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำที่หน่วยงำนสำธำรณสุขต้องด ำเนินกำร คือ
                  กำรค้นหำติดตำมผู้ป่วย/ผู้สัมผัสโรคให้มำรับวัคซีนทุกรำย และดูแลรักษำอย่ำงถูกต้องตำมแนวทำงเวชปฏิบัติ
                  หลังสัมผัสโรค แต่กลไกด่ำนแรกที่จะช่วยป้องกันกำรเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำได้ คือ กำรสื่อสำรควำมเสี่ยง

                  ให้ประชำชนรับรู้และตะหนักถึงโรคพิษสุนัขบ้ำที่ถูกต้อง โดยกำรประชำสัมพันธ์ควรท ำอย่ำงต่อเนื่อง และ
                  ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำรป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้ำทั งในคนและในสัตว์ บูรณำกำรข้อมูลกำร
                  ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ำในทุกกลุ่มวัย ให้ควำมรู้โดยผู้น ำในท้องถิ่น กรณีเกิดกำรระบำดของโรค พบผู้สงสัยหรือ

                  เสือชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้ำ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรมีระบบส่งต่อข้อมูลที่รวดเร็ว รับด ำเนินกำรสอบสวนโรค
                  และประกำศเขตโรคระบำดโดยทันที่ เพื่อป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรคและสร้ำงควำมตระหนักในกำรดูแล
                  ป้องกันตนเอง  จำกโรคพิษสุนัขบ้ำ
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82