Page 305 - Liver Diseases in Children
P. 305

ื
                                                                 ื
                                                                                           ื
           ระดับอัลบูมินในเลอดต ่ากว่า 2.5 กรัม/ดล. ขนาดของอัลบูมิน คอ 1 กรัม/กก. หยดทางหลอดเลอด อาจใหไดถึง
                                                                           ้
           วันละ 3 คร้งจนกระทั่งมีระดับอัลบูมินในเลอดมากกว่า 2.5 กรัม/ดล. ควรให furosemide ขนาด 0.5-1 มก./กก.
                                               ื
                     ั
           รวมดวยเพอปองกันภาวะน้าเกน
                                     ิ

                ้
                       ้
                     ื่
            ่
                                                                      ี่
                             ้
                                                                       ี
                                                       ้
                                                                                 ้

                    การเจาะทอง (paracentesis) ควรเจาะทองเฉพาะในรายทมน้าในช่องทองเพิ่มขึ้นอย่างรวดเรวจนม
             ั
                                   ี่
           ปญหาการหายใจ หรอรายทไม่ตอบสนองต่อยาขับปสสาวะขนาดสูง ควรใหสารละลายอัลบูมินขนาด 1 กรัม/
                             ื
                                                                           ้
                                                       ั
                                                                                          ี่
                                                                                      ้
                                                            ื่
                                                          ี
           กก.ทางหลอดเลอดระหว่าง หรอหลังการเจาะทองทันทเพอรกษา circulating volume ใหคงท การระบายน้าใน
                                                              ั
                         ื
                                     ื
                                                   ้
                ้
                                                                                 ื
                                        ิ
                                      ้
           ช่องทองออกอย่างต่อเนองทาใหเกดการขาด complement ปจจัยการแข็งตัวของเลอด และโปรตนอน ๆ      ็  ้     ้  ี
                                                               ั

                                ื่
                                                                                               ื่
                                                                                             ี
                     ั
                                                            ี
                           ้
                                                    ็
                                                       ้
           ทองมานทรกษาไดยาก (intractable ascites) เปนขอบ่งช้ของการปลูกถ่ายตับ
             ้
                    ี่

                                                                   โรคตับเรื้อรังและความดันพอร์ทัลสูง  295


                                                    ทองมาน
                                                     ้


              จากัดการบรโภคโซเดียมให ้            Spironolactone             อัลบูมิน 1 กรัม/กก./คร้ง วันละ

                       ิ
                                                                                              ั
              ไม่เกน 2 มิลลิโมล/กก./วัน           2-3 มก./กก./วัน             1-3 คร้ง ถาระดับอัลบูมินใน
                                                                                     ้
                  ิ
                                                                                   ั
                                             (ขนาดยาสูงสุด 100 มก./วัน)       เลือดนอยกว่า 2.5 มก./ดล.
                                                                                   ้
                                             ตอบสนองไม่ดี
                                                  ั
                                         ั
                                       ปรบเพิ่มยาคร้งละ 2 มก./กก./วัน ทุก 5-7 วัน
                                      (ขนาดยาสูงสุดที่เพิ่มเท่ากับ 100 มก./วัน) จนถึง
                                       4-6 มก./กก./วัน (ขนาดยาสูงสุด 400 มก./วัน)
                                             ตอบสนองไม่ดี
                                            เพิ่ม furosemide 1 มก./กก./วัน
                                              (ขนาดยาสูงสุด 40 มก./วัน)
              pthaigastro.org
                                             ตอบสนองไม่ดี

                                        ั
                                      ปรบเพิ่มยา  furosemide ครั้งละ 1 มก./กก./วัน
                                     ทุก 5-7 วัน (ขนาดยาสูงสุดที่เพิ่มเท่ากับ 40 มก./วัน)
                                    จนถึง 2-4 มก./กก./วัน (ขนาดยาสูงสุด 160 มก./วัน)
                                                                  ้
                                   ั
                                        ้
                                                                        ี่
                ี
                ่
           รูปท 15.10  แนวทางการรกษาทองมาน (ดัดแปลงจากเอกสารอางอิงท 1)
                            รูปที่ 15.10  แนวทางการรักษาท้องมาน (ดัดแปลงจากเอกสารอ้างอิงที่ 1)

             อำกำรทำงสมองจำกโรคตับ (hepatic                     HE อาจถูกกระตุ้นให้เกิดอาการได้จากปัจจัย
                                                                             ื
             encephalopathy, HE)                           ต่าง ๆ ได้แก่ การติดเช้อ เลือดออกในทางเดินอาหาร
                                                           ได้รับยาขับปัสสาวะเกินขนาด อิเล็กโทรไลต์ผิดปกติ
                  ยังไม่ทราบพยาธิสรีรวิทยาของอาการทาง
                                                                                                   18,19
             สมองจากโรคตับท่แน่ชัด  ภาวะแอมโมเนียสูงใน     และท้องผูก มักแบ่งความรุนแรงของ HE ในเด็ก
                             ี
             เลือดมีบทบาทส�าคัญต่อการเกิด HE แอมโมเนียใน   ตามตารางที่ 14.3 และ 14.4 อาจแบ่งความรุนแรง
             เลือดสามารถผ่าน blood-brain barrier ไปกระตุ้น   ของ HE เป็น 2 ประเภท คือ มีอาการทางสมอง
                                                               ้
                                                             ็
                                                                                                 ั
             glutamate/glutamine pathways ใน astrocytes    เลกนอย  (covert HE) และมีอาการทางสมองชดเจน
             ท�าให้มีการสร้าง glutamine เพิ่มขึ้น ซึ่ง glutamine   (overt HE) โดย covert HE คือ HE grade 0 และ
             เป็นสาร osmotic ส่งผลให้ astrocytes และสมองบวม               I ส่วน overt HE คือ HE grade II, III และ IV ตาม
   300   301   302   303   304   305   306   307   308   309   310