Page 309 - Liver Diseases in Children
P. 309

โรคตับเรื้อรังและความดันพอร์ทัลสูง  299




              pthaigastro.org
                                                                        29,30
             Hepatorenal syndrome (HRS)                    (ตารางที่ 15.5)  โดยมีการปรับเกณฑ์เกี่ยวกับค่า
                                                           ครีแอทินินในเลือด เน่องจากเด็กมีค่าครีแอทินินใน
                                                                              ื
                  ผู้ป่วยที่มีความดันพอร์ทัลสูง พบมีหลอดเลือด
                                                                 ่
                                                                       ู
             splanchnic ขยายตัวจากฤทธ์ของไนตริกออกไซด์     เลือดต�ากว่าผ้ใหญ่ ดังนั้นถ้าใช้ค่า cut-off ของ
                                       ิ
             ท�าให้ไตตอบสนองเหมือนในภาวะที่มี  effective   ครีแอทินินในเลือดเท่ากับผู้ใหญ่ คือ 1.5 มก./ดล.
             circulating  volume  ลดลง  จึงมีการกระตุ้น     อาจท�าให้วินิจฉัย HRS ต�่ากว่าความเป็นจริง
                                                                                      28
             renin-angiotensin-aldosterone system ท�าให้เกิด     มักแบ่ง HRS เป็น 2 ชนิด  ดังต่อไปนี้

             หลอดเลอดในไตหดตัว (renal vasoconstriction)         - ชนิดที่ 1 คือ มีไตท�างานบกพร่องเฉียบพลัน
                    ื
             เลือดไปเลี้ยงไตลดลง  และการท�างานของไต        มีค่าครีแอทินินในเลือดเพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่า และ
             บกพร่อง 28                                    มากกว่า 2.5 มก./ดล. ภายใน 2 สัปดาห์ ภาวะที่

                  ภาวะ cardiac output ต�าซ่งอาจเกิดจากกล้าม  กระตุ้นให้เกิด HRS ชนิดนี้ ได้แก่ เลือดออกจากทาง
                                      ่
                                        ึ
             เนื้อหัวใจผิดปกติ (cirrhotic cardiomyopathy) มี  เดินอาหาร ติดเชื้อในกระแสเลือด และ SBP
             บทบาทต่อการเกิด HRS ผู้ป่วยโรคตับเรื้อรังจึงต้อง     - ชนิดที่ 2 คือ มีค่าครีแอทินินในเลือดเพิ่มขึ้น

             มีกลไกทาให้มี hyperdynamic circulatory state   ช้า ๆ จนมากกว่า 1.5 มก./ดล. สันนิษฐานว่าเป็นผล
                    �
             เพื่อคง renal perfusion ไว้ ภาวะอื่น ๆ ที่ท�าให้มี   มาจากโรคตับระยะสุดท้ายและท้องมานที่รักษายาก
             effective circulating volume ลดลง ได้แก่ เลือด  (refractory ascites)

             ออกจากทางเดินอาหารและการติดเช้อ โดยเฉพาะ           การรักษา HRS ควรหยุดยาขับปัสสาวะเสมอ
                                            ื
                                                                                ิ
                                                                  ี
             อย่างยิ่ง SBP ท�าให้กระตุ้นการเกิด HRS ได้  พบ  ในกรณีท่สงสัย HRS และเร่มการรักษา HRS ให้เร็วที่สุด
                                                  28
                                                            ึ
             ไตวายเฉียบพลันจาก HRS ประมาณร้อยละ 20 ใน      ซ่งการรักษา HRS แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันดังนี ้
             ผู้ใหญ่ที่มีตับแข็งและร้อยละ 5 ในผู้ป่วยเด็ก 28,29      • HRS ชนิดที่ 1
                  การวินิจฉัยแยกโรคของภาวะไตวายเฉียบพลัน        ในผู้ใหญ่ให้ terlipressin ขนาด 1 มก. ทาง

             ในผู้ป่วยที่มีตับแข็ง ได้แก่                  หลอดเลือด วันละ 4-6 ครั้ง อาจเพิ่มขึ้นได้ถึง 2 มก.
                  • Pre-renal พบประมาณร้อยละ 45 การรักษา  วันละ 4-6 ครั้ง ร่วมกับให้อัลบูมินขนาด 1 กรัม/กก.

             คือ การให้สารน�้าให้เพียงพอ                   ในวันแรก  และวันละ  20-40  กรัมในวันถัดไป 28
                  • Intra-renal เช่น acute tubular necrosis  terlipressin เป็น analogue ของ vasopressin ออก
             และ glomerulonephritis อาการทางคลินิก คือ มี  ฤทธิ์ท�าให้หลอดเลือด splanchnic หดตัว เพิ่มเลือด

                                                                                              28
             โปรตีนในปัสสาวะ microhematuria และ/หรือพบ     ไปที่ไต และท�าให้ความดันเลือดแดงดีขึ้น  ควรให้
                                                                                         ั
             ไตผิดปกติจากการตรวจอัลตราซาวนด์               อัลบูมินและ terlipressin จนกระท่งค่าครีแอทินิน
                                               ั
                                       ี
                  • Post-renal เช่น ภาวะท่มีการอุดก้นของทาง  ในเลือดน้อยกว่า 1.5 มก./ดล. หรือให้นานไม่เกิน 14 วัน
             เดินปัสสาวะ                                   ผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษาจะมีค่าครีแอทินิน
                  • HRS ยังไม่มีเกณฑ์การวินิจฉัย HRS ในเด็ก  ในเลือดลดลงอย่างน้อยร้อยละ 25 ภายใน 3 วัน

             Yousef และคณะได้เสนอเกณฑ์ในการวินิจฉัย HRS  ของการรักษา
   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314