Page 17 - บทที่ 2nn
P. 17
ชุติกาญจน์ เลิศวลัยรัตน์ (2556 ,บทคัดย่อ) วิจัย เรื่อง ระบบการจัดการเอกสารราชการของส านักราช
เลขาธิการ เพื่อศึกษาลักษณะของเอกสารที่เกิดจากภารกิจของกองกลางและกองการในพระองค์ใน สังกัด
ส านักราชเลขาธิการและ ศึกษาสภาพการจัดการเอกสารราชการของกองกลางและกองการใน พระองค์ใน
สังกัดส านักราชเลขาธิการ จากการศึกษา พบว่ามีการก าหนดแนวทางการปฏิบัติงาน เอกสารด้วยวาจา มีคู่มือ
การปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (Informa) และมีคู่มือการจัดเก็บ เอกสารของส านักราชเลขาธิการ แต่
ี
ี
ไม่มการตั้งงบประมาณเฉพาะส าหรับงานสารบรรณ ไม่มการ ก าหนดลักษณะเฉพาะของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ใน
ี
การจัดเก็บเอกสาร ไม่มการกาหนดความรับผิดชอบ ด้านเอกสารของบุคลากร ไม่มการจัดล าดับความส าคัญ
ี
ของเอกสาร ด้านการจัดท าเอกสารมี 2 ลักษณะได้แก่เอกสารราชการทั่วไปและ เอกสารเฉพาะของแต่ละกอง
ด้านการจัดเก็บมีการแยกเก็บ เอกสารที่อยู่ระหว่างปฏิบัติงาน เอกสารที่เก็บไว้ตรวจสอบ และเอกสารที่ปฏิบัติ
เสร็จสิ้นแล้ว ซึ่งมีการ จัดเก็บตามคู่มือและการจัดเก็บตามความสะดวกของบุคลากรผู้ใช้งานเอกสาร การ
สืบค้นเอกสาร สามารถท าด้วยโปรแกรม Infoma หากเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแล้วจะถูกย้ายเอกสารไปเก็บ ณ
ศูนย์สารสนเทศฯ ไม่มีตารางก าหนดอายุเอกสาร ด้านปัญหาที่พบ คือ การขาดแคลนบุคลากร เครื่องมือ
พอเพียงและมีคณภาพดีและมีพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารในส านักงาน
ุ
สิทธิชัย วรโชติก าจร และ พัชราภรณ์ วรโชติก าจร (2561 ,บทคัดย่อ) วิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบ
้
ื่
จัดเก็บและค้นคืนเอกสารงานสารบรรณ วัตถุประสงค์เพอ 1) พัฒนาระบบ จัดเก็บและคนคืนเอกสารส าหรับ
งานสารบรรณ 2) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้ระบบจัดเก็บและค้นคืน เอกสารส าหรับงานสารบรรณ โดยเน้น
้
การแก้ปัญหาใน เรื่อง การควบคุมจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ การค้นหา ข้อมูลสารสนเทศ การบ ารุงรักษาขอมูล
สารสนเทศ และ ด้านการปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การท างานด้านงานสาร บรรณมีประสิทธิภาพ และเพิ่มความ
สะดวกรวดเร็วใน การปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น โดยเน้นในการศึกษา 4 ด้าน คือ 1) ด้านขั้นตอนกระบวนการ 2)
ด้านเนื้อหา 3) ด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัย 4) ด้านความพึง พอใจต่อคุณภาพการให้บริการ โดยมี
สมมติฐานคือ ผู้ใช้ ระบบงานสารบรรณมีความพึงพอใจในทางบวก ผู้วิจัยพัฒนาระบบฯ และท าการทดสอบกับ
ผู้ใช้ ระบบงานสารบรรณของวิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒโดยท าการ
คัดเลือกแบบ เจาะจงจ านวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบประเมินวัดความพึงพอใจ ท าการ
วิเคราะห์ข้อมูล ตามหลักสถิติโดยค านวณ หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งผลการ
ประเมินความ พึงพอใจต่อระบบโดยรวมในส่วนของผู้ใช้งานมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.55 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 0.41 สรุป ได้ว ่าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ดังนั้น ระบบที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถน าไปใช้
งานจัดเก็บและค้น คืนเอกสารงานสารบรรณ และให้รายงานที่เหมาะสม ส าหรับผู้บริหารในการตัดสินใจ
ศิริรัตน์ตรงวัฒนาวุฒิ(2550) ได้ศึกษาเกี่ยวกับ การพัฒนาระบบการจัดการเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ของ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ระบบนี้พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการ การรับ การส่ง การจัดเก็บ และ
การสืบค้นข้อมูลเอกสารภายในหน่วยงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อีกทั้งยังช่วยลดปัญหาการสื่อสาร การจัดเก็บ
การสืบค้น เอกสารสูญหายง่าย และการสิ้นเปลือง ทรัพยากรอย่างกระดาษ พบว่าระบบสามารถช่วยจัดการ
เอกสารได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ระบบได้ดี แต่มีจุดที่สามารถน าไปพัฒนาเพิ่มเติมได้คือ การเอาเทคโนโลยี
จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์มาช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสารของแต่ละ
หน่วยงานได้ดีมากขึ้น