Page 18 - บทที่ 2nn
P. 18

ในการด าเนินการพัฒนาระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ผู้ศึกษาได้ท าการรวบรวม ข้อมูลที่

                            ึ
               เกี่ยวข้องและศกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ตามล าดับข้างต้น รวมทั้งได้น าหลักการ
               และแนวคิดต่างๆ ในส่วนของงานวิจัยที่เกี่ยวข้องส าหรับเป็นแนวทางมาใช้ ในการวิเคราะห์ออกแบบและ
               พัฒนาระบบซึ่งจะกล่าวรายละเอียดในบทต่อไป


                       อุดมลักษณ์ บ ารุงญาติ (2541, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาวิจัยการพัฒนาระบบการจัดเก็บ เอกสาร และ
               บริการในงานสารบรรณ ในคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่าสภาพปัญหาและ

               สาเหตุ ลักษณะของการให้บริการทั้งก่อนและหลัง ให้กิจกรรม การนิเทศ การจัดอบรม คู่มือปฏิบัติงาน และ
               เอกสารแสดงขั้นตอนในการปฏิบัติงาน จากการ 56 วิเคราะห์ด้านคอมพิวเตอร์โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS/PC


               เพิ่มคานวณหาค่าร้อยละ T-Test ภายหลัง การให้กิจกรรมแทรกแล้ว (intervention) ตัวแปรต่างๆ ซึ่งได้แก่
                                       ื่
                       ิ
               การจัดพมพ์หนังสือราชการอน ๆ การให้บริการถ่ายเอกสาร การจัดเก็บเอกสาร การให้บริหารอัดส าเนา เรียง
               เอกสารเข้าเล่ม ท า ให้มีการเปลี่ยนแปลงเวลาที่ให้บริการต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญที่ร้อยละ .05 โดยตัวแปร
               ดังกล่าว ข้างต้นท าให้ทราบว่าระยะเวลาท าให้บริการรวดเร็วขึ้น อันเป็นผลให้การรับบริการมีความพึง พอใจใน
               การบริการที่ได้รับมากขึ้น


                       อย่างไรก็ตามบริการบางประการ เช่น การเขียนหนังสือราชการ การร่างโต้ตอบหนังสือ ราชการ การ
               ค้นหา และการติดตามเอกสาร การท าลายเอกสารนั้น ไม่มีการพัฒนาดีขึ้น อาจจะ มองข้ามลักษณะของงาน

               บริการนั้นเป็นงานที่ต้องด าเนินงานใช้เวลา รวมทั้งเป็นงานที่ต้องใช้ ประสบการณ์และทกษะเฉพาะตัว
                                                                                       ั
                       สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ในการจัดเก็บเอกสารของหน่วยงานต่างๆ ส่วนใหญ่มา

                                                              ี
               จากตัวบุคลากรที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจในระบบงาน ไม่มการให้ความรู้ต่อบุคลากร ที่จะมาปฏิบัติหน้าที่ในงาน
               ด้านสารบรรณและเอกสารอย่างชัดเจน อันดับต่อมา คือ ด้านสถานที่ เก็บเอกสาร มีความคับแคบไม่เพียงพอ
                                        ึ้
                                                     ึ
               ต่อจ านวนเอกสารที่เพิ่มมากขนทุกขณะ รวมถงปัญหา ด้านเครื่องมือเครื่องใช้ที่ล้าสมัย และไม่มีการซ่อมบ ารุง
               ให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ เพราะประเทศ มีความเจริญก้าวหน้าขึ้น จึงต้องการเครื่องมือและอุปกรณ์ททันสมัย
                                                                                                  ี่
               มากขึ้น รวมทั้งด้าน งบประมาณทีมีไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน


                       ร้อยเอกพลินทร สังขกร (2549,บทคัดย่อ) การศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการระบบจัดเก็บเอกสารของ
               กองระเบียบการ กรมเสมียนตรา กระทรวงกลาโหม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหาในการบริหารจัดการ

                                           ื่
               ระบบการจัดเก็บ เอกสาร และเพอหาแนวทางในการแกไขปัญหาในการบริหารจัดการระบบการจัดเก็บเอกสาร
                                                             ้
               การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักในการศกษาครั้งนี้ คือ เจ้าหน้าที่
                                                                                     ึ
               ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับด้านเอกสาร หรือกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ของกองระเบียบการ กรมเสมียนตรา
               กระทรวงกลาโหม จ านวนทั้งสิ้น 15 คน

                       ผลการวิจัยพบว่า สภาพการจัดเก็บเอกสาร ของกองระเบียบการ กรมเสมียนตรา กระทรวงกลาโหม

               พบว่าระบบการจัดเก็บเอกสารส่วนใหญ่ยังเป็นแบบบันทึกลงสมุด ถึงแม้ว่าได้ มีการนาโปรแกรมการจัดเก็บ
               เอกสารแบบสารสนเทศมาใช้แล้ว แต่ก็ยังไม่ได้มีการด าเนินการใช้ ระบบสารสนเทศจัดเก็บเอกสารอย่างเป็น

                                                                                                ี
               ระบบ ด้านปัญหาในการจัดเก็บเอกสาร พบว่าด้าน บุคลากร คือมีปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่มความรู้
               ความสามารถในการท างานที่เพียงพอ ด้านงบประมาณ พบว่าได้รับการจัดสรรงบประมาณไม่เพียงพอ ด้าน
   13   14   15   16   17   18   19