Page 115 - 10_พระราชบญญตตำรวจแหงชาต2547_Neat
P. 115

๑๐๘




              และสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนขอกลาวหาเทาที่มีใหผูถูกกลาวหาทราบ โดยจะระบุหรือไมระบุชื่อ
              พยานก็ไดและตองใหโอกาสผูถูกกลาวหาชี้แจงและนําสืบแกขอกลาวหาไดดวย เมื่อไดมีการสอบสวนแลว

              ถาคณะกรรมการหรือผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาเห็นวา สมควรใหออกจากราชการ ก็ใหผูสั่ง
              แตงตั้งคณะกรรมการเสนอเรื่องตอผูมีอํานาจตามมาตรา ๗๒ เพื่อพิจารณาสั่งใหผูนั้นออกจากราชการ
              เพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนได

                          ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาไดแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อทําการสอบสวนผูถูกกลาวหาตาม
              มาตรา ๘๖ ในเรื่องที่จะตองสอบสวนตามวรรคหนึ่ง และคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๘๖

              ไดสอบสวนไวแลวผูมีอํานาจตามวรรคหนึ่งจะใชสํานวนการสอบสวนนั้นมาพิจารณาดําเนินการ
              โดยไมตองแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่งก็ได
                          หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการสอบสวนพิจารณา ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.ตร.

                          *กฎ ก.ตร.ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.๒๕๔๗
                          ÁÒμÃÒ ñðò  เมื่อขาราชการตํารวจผูใดถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรง และ

              ไดมีการสอบสวนตามมาตรา ๘๖ แตไมไดความแนชัดวาผูนั้นกระทําผิดที่จะถูกลงโทษปลดออกหรือ
              ไลออกแตมีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวนนั้น หากจะใหรับราชการตอไปจะเปนการเสียหาย
              แกราชการก็ใหผูมีอํานาจตามมาตรา ๗๒ สั่งใหผูนั้นออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนได

                          ÁÒμÃÒ ñðó  เมื่อขาราชการตํารวจผูใดถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกในความผิด
              ที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ซึ่งยังไมถึงกับจะตองถูกลงโทษปลดออกหรือไลออก

              หากจะใหรับราชการตอไปจะเปนการเสียหายแกราชการก็ใหผูมีอํานาจตามมาตรา ๗๒ สั่งใหผูนั้น
              ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนได

                          ÁÒμÃÒ ñðô  ในการออกจากราชการของขาราชการตํารวจตําแหนงตั้งแตผูบังคับการ
              หรือตําแหนงเทียบเทาขึ้นไป หากเปนกรณีการออกจากราชการตามมาตรา ๙๗ ใหนายกรัฐมนตรี
              นําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ   ๔๙

                          การพนจากตําแหนงของขาราชการตํารวจ ตําแหนงผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ จเรตํารวจ
              แหงชาติ และรองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติหรือตําแหนงเทียบเทา ใหนําความกราบบังคมทูล

              เพื่อทรงมีพระบรมราชโองการใหพนจากตําแหนง เวนแตกรณีที่พนจากตําแหนงเพราะความตาย



                          ÊÃØ»  มาตรา ๑๐๒ – ๑๐๔
                          โดยสรุป มาตรา ๑๐๒ – ๑๐๔ เปนการกําหนดแนวทางการสั่งใหออกจากราชการกรณี

              มีมลทินมัวหมอง การสั่งใหออกจากราชการกรณีถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดในความผิดที่กระทํา
              โดยประมาทหรือลหุโทษ และการนําความกราบบังคมทูลกรณีการออกจากราชการตั้งแตผูบังคับการ

              ขึ้นไป
                 ๔๙   มาตรา ๑๐๔ วรรคหนึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เรื่อง การกําหนด
              ตําแหนงของขาราชการตํารวจซึ่งมีอํานาจหนาที่ในการสอบสวน (เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๖ ง วันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๙)
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120