Page 116 - 10_พระราชบญญตตำรวจแหงชาต2547_Neat
P. 116

๑๐๙



                             ¡ÒÃÍØ·¸Ã³

                             ÁÒμÃÒ ñðõ  ขาราชการตํารวจผูใดถูกสั่งลงโทษหรือถูกสั่งใหออกจากราชการตาม

                 พระราชบัญญัตินี้ ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณไดดังตอไปนี้
                             (๑)  กรณีถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน ใหอุทธรณ
                 คําสั่งดังกลาวตอผูบังคับบัญชาของผูบังคับบัญชาที่สั่งลงโทษ แตในกรณีที่ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ

                 เปนผูสั่งลงโทษ ใหอุทธรณตอ ก.ตร.
                             (๒)  กรณีถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไลออก หรือถูกสั่งใหออกจากราชการ ใหอุทธรณ

                 คําสั่งดังกลาวตอ ก.ตร.
                             การอุทธรณตาม (๑) และ (๒) ใหอุทธรณภายในสามสิบวันนับแตวันทราบคําสั่ง
                             ระยะเวลาการพิจารณาอุทธรณตาม (๑) และ (๒) ใหพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสองรอย

                 สี่สิบวันนับแตวันที่ไดรับอุทธรณ เวนแตมีเหตุจําเปนตามที่กําหนดในระเบียบ ก.ตร. ที่ทําใหการพิจารณา
                 ไมแลวเสร็จภายในระยะเวลาดังกลาว ก็ใหขยายระยะเวลาไดอีกไมเกินสองครั้ง โดยแตละครั้งจะตอง

                 ไมเกินหกสิบวัน
                             *ระเบียบ ก.ตร.ตามมาตรานี้ ไดแก ระเบียบ ก.ตร.วาดวยเหตุจําเปนในการขยาย
                 ระยะเวลาการพิจารณาอุทธรณ พ.ศ.๒๕๔๗

                             หลักเกณฑและวิธีการอุทธรณ และการพิจารณาอุทธรณ ใหเปนไปตามที่กําหนดใน
                 กฎ ก.ตร.

                             *กฎ ก.ตร.ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยการอุทธรณและการพิจารณาอุทธรณ
                 พ.ศ.๒๕๔๗
                                           õð
                             ÁÒμÃÒ ñðõ/ñ    ในกรณีที่ศาลปกครองมีคําพิพากษาถึงที่สุดสั่งเพิกถอนหรือแกไข
                 คําสั่งในเรื่องใด ใหเปนหนาที่ของผูบังคับบัญชาผูมีอํานาจ ก.ตร. หรือ ก.ต.ช. แลวแตกรณีในการสั่งการ
                 ตามสมควรเพื่อเยียวยาและแกไขหรือดําเนินการตามที่เห็นสมควร



                             ¡ÒÃÌͧ·Ø¡¢
                             ÁÒμÃÒ ñðö  ขาราชการตํารวจผูใดเห็นวาผูบังคับบัญชาใชอํานาจหนาที่ปฏิบัติตอตน

                 โดยไมถูกตองหรือไมปฏิบัติตอตนใหถูกตองตามระเบียบ กฎหมาย หรือเกิดจากการปฏิบัติโดยมิชอบ
                 ของผูบังคับบัญชาตอตน ผูนั้นอาจรองทุกขตอผูบังคับบัญชาหรือ ก.ตร. แลวแตกรณี เพื่อขอใหแกไขได

                 เวนแตเปนกรณีที่มีสิทธิอุทธรณตามหมวด ๘ ใหใชสิทธิอุทธรณตามที่กําหนดไวในหมวดนั้น
                             หลักเกณฑและวิธีการรองทุกข เหตุแหงการรองทุกขและการพิจารณาเรื่องรองทุกขใหเปนไป
                 ตามที่กําหนดในกฎ ก.ตร.

                             *กฎ ก.ตร.ตามมาตรานี้ ไดแก กฎ ก.ตร.วาดวยการรองทุกข พ.ศ.๒๕๔๗


                    ๕๐   มาตรา ๑๐๕/๑ เพิ่มโดยคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๔๔/๒๕๕๘ เรื่อง การแกไขปญหาการบริหาร
                 งานบุคคลของขาราชการตํารวจ (เลม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๒๒ ง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘)
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121