Page 9 - 10_พระราชบญญตตำรวจแหงชาต2547_Neat
P. 9

๒




                          ¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃШÍÁà¡ÅŒÒ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ ÃѪ¡ÒÅ·Õè ô ¾Ãмٌ¾ÃÐÃÒª·Ò¹¡íÒà¹Ô´ “μíÒÃǨ
              ÊÁÑÂãËÁ‹” ประมาณปพ.ศ. ๒๔๐๐ - ๒๔๐๕ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔

              ไดพระราชปรารภวา บานเมืองมักมีเหตุการณโจรผูรายกอกวนความสงบสุขของราษฎรอยูเนืองๆ
              ลําพังขาหลวงกองจับซึ่งเปนขาราชการขึ้นกรมเมืองหรือนครบาล มิอาจสามารถระงับเหตุการณ

              และปราบปรามโจรผูรายใหสงบราบคาบได จึงมีพระราชดําริที่จะจัดตั้งกองตํารวจเชนเดียวกับ
              ตางประเทศ เชน สิงคโปร และอินเดีย และไดทรงแตงตั้งให กัปตันแซมมวล โจเซฟ เบิรด เอมส

              (Capt. S. J. Ames) ชาวอังกฤษ มาเปนผูวางโครงการจัดตั้งกองตํารวจขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศไทย
              เรียกวา “กองโปลิสคอนสเตเปล” โดยจางชาวมลายูและชาวอินเดียเขามาเปนพลตํารวจเรียกวา

              “คอนสเตเปล” มีหนาที่รักษาการณในเขตกรุงเทพมหานครชั้นใน ขึ้นอยูกับกรมพระนครบาล ซึ่งถือวา
              เปนจุดเริ่มตนในความเปนปกแผนของกิจการตํารวจสมัยตอมา

                          และเพื่อเปนการนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณแหงลนเกลาฯ รัชกาลที่ ๔ ที่ทรงปรับปรุง
              กิจการตํารวจใหทันสมัยทัดเทียมนานาอารยประเทศตะวันตกและเปนรากฐานกิจการตํารวจในปจจุบัน
              กรมตํารวจจึงไดจัดสรางพระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔

              ประดิษฐานบริเวณหนาอาคาร ๑ กรมตํารวจ เพื่อใหขาราชการตํารวจและประชาชนทั่วไปไดแสดง
              ความเคารพสักการะ เมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๔

                          ¾ÃлÂÁËÒÃÒª ¾ÃÐÁËÒ¡ÉÑμÃԏ¼ÙŒÊÌҧ “¤ÇÒÁ໚¹»ƒ¡á¼‹¹á¡‹¡Ô¨¡ÒÃμíÒÃǨ” ภายหลัง
              จากที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จขึ้นครองราชยตอจากพระราชบิดา

              พระองคไดทรงพัฒนากิจการตํารวจในดานตางๆ มากมายหลายดาน ไดแก
                          พ.ศ.๒๔๑๔ โปรดเกลาฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ให กัปตันแซมมวล โจเซฟ เบิรด เอมส

              เปนหลวงรัฐยาธิบาลบัญชา และรับสั่งใหปรับปรุงกิจการตํารวจใหเจริญกาวหนาขึ้น ในป พ.ศ.๒๔๑๘
              โปรดเกลาฯ ใหตรา “กฎหมายโปลิสรักษาพระนคร ๕๓ ขอ” ซึ่งเปนกฎหมายเกี่ยวกับขนบธรรมเนียม

              หนาที่ของโปลิส จึงพึงปฏิบัติและขอบังคับการรับสมัครบุคคลเขาเปนโปลิสหรือตํารวจ โดยกฎหมาย
              ดังกลาวใชบังคับภายในและภายนอกพระนคร ตอมาในป พ.ศ.๒๔๑๙ ทรงจัดตั้ง “ตํารวจภูธร” ขึ้นในรูป

              “ทหารโปลิส” เพื่อเปนกําลังรักษาความสงบเรียบรอยในสวนภูมิภาคและใหสามารถปฏิบัติการทางทหาร
              ไดดวย ตอมาไดเปลี่ยนเปน “กรมกองตระเวนหัวเมือง”

                          พ.ศ.๒๔๓๕ พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บูรณศิริ) ซึ่งเขารับราชการในชวงปลายสมัย
              รัชกาลที่ ๕ ไดดํารงตําแหนงเปนเจากรมกองตระเวน ผูบังคับการกรมกองตระเวน หรืออธิบดี

              กรมพลตระเวน ตามลําดับ ทานไดปรับปรุงแกไข ขยายหนวยงานกิจการตํารวจใหเจริญกาวหนา
              ตอจากกัปตัน แซมมวล โจเซฟ เบิรด เอมส
                          พ.ศ.๒๔๔๐ รัชกาลที่ ๕ พระราชทานโปรดเกลาฯ ใหนาย เอ.เย.ยาดิน (Mr.A.J.Jardine)

              ดํารงตําแหนงเปนอธิบดีกรมกองตระเวน เดิมเปนชาวอังกฤษผูซึ่งเคยรับราชการเปนผูบังคับการตํารวจ

              ในประเทศอินเดีย ไดเขามารับราชการตํารวจไทยในตําแหนงผูชวยผูบังคับการกองตระเวนและชักชวน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14