Page 16 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 16

๓




                 ๓.๓  โครงสรางความรับผิดทางอาญา
                            กฎหมายอาญาของไทยนั้นเปนกฎหมายอาญาในรูปแบบของระบบประมวลกฎหมาย

                 หรือระบบลายลักษณอักษร ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากการปฏิรูปกฎหมายสมัยรัชกาลที่ ๕ ที่ทรงจัดให
                 มีการจัดทําประมวลกฎหมายอาญาขึ้นใหมใหมีความทันสมัยและไดรับการยอมจากนานาประเทศ
                 ซึ่งไดนําระบบประมวลกฎหมายแบบประเทศซิวิลลอวมาใช ซึ่งในปจจุบันเปนที่ยอมรับกันวา โครงสราง

                 ความรับผิดทางอาญาของไทยนั้นมีความแตกตางไปจากโครงสรางความรับผิดชอบของทั้ง common
                 law และ civil law บาง ซึ่งเมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในลักษณะ ๓
                 คําพิพากษาและคําสั่งในมาตรา ๑๘๕ “ถาศาลเห็นวาจําเลยมิไดกระทําผิดก็ดี การกระทําของจําเลย

                 ไมเปนความผิดก็ดี คดีขาดอายุความแลวก็ดี มีเหตุตามกฎหมายที่จําเลยไมควรตองรับโทษก็ดี ใหศาล
                 ยกฟองโจทก ปลอยจําเลยไป แตศาลจะสั่งขังจําเลยไวหรือปลอยชั่วคราวระหวางคดียังไมถึงที่สุดก็ได
                 เมื่อศาลเห็นวาจําเลยไดกระทําผิดและไมมีการยกเวนโทษตามกฎหมายใหศาลลงโทษแกจําเลย

                 ตามความผิด  แตเมื่อเห็นสมควร  ศาลจะปลอยจําเลยชั่วคราวระหวางคดียังไมถึงที่สุดก็ได”
                 จากมาตรา ๑๘๕ ที่ศาลจะตองพิจารณาพิพากษาลงโทษจําเลยตามกฎหมาย เปนที่มาของโครงสราง
                 ความรับผิดทางอาญา




                  โครงสรางความรับผิดทางอาญา
                             ๑.  มีการกระทําครบตามองคประกอบที่กฎหมายบัญญัติ (แยกพิจารณา ๔ สวน)

                             ๒.  ไมมีกฎหมายยกเวนความผิด
                             ๓.  ไมมีกฎหมายยกเวนโทษ




                            ๑.  การกระทําครบ “ͧ¤»ÃСͺ” ที่กฎหมายบัญญัติ
                                 การกระทําที่ครบ “องคประกอบ” ความผิดที่กฎหมายบัญญัติ หลักนี้มาจากมาตรา ๒
                 และมาตรา ๕๙ ประกอบดวยหลักเกณฑ ๔ ประการ คือ

                                 ๑.๑  มีการกระทํา
                                      โดยผูกระทําตองกระทําโดยรูสํานึก หมายความวา รูสึกตัว รูวาจะทําอะไร และ

                 ตัดสินใจทําแลวเคลื่อนไหวอิริยาบถไปตามที่คิดนั้น คือ การกระทําที่อยูภายใตการบังคับของจิตใจ
                 การกระทําที่ไมอยูภายใตบังคับของจิตใจ ไมถือวาเปนการกระทําที่จะทําใหตองรับผิดทางอาญา เชน

                                      แดงนอนละเมอใชมือฟาดไปถูกตาของดํา ทําใหตาบอด แดงเคลื่อนไหว
                 รางกายขณะไมรูสึกตัวเนื่องจากเปนโรคลมชัก การเคลื่อนไหวรางกายดังกลาวไมอยูภายใตบังคับของ

                 จิตใจ ถือวาแดงไมรูสํานึกในการที่กระทํา จึงไมตองรับผิดในทางอาญา หรือ
                                      ดําเปนคนปญญาออนถึงขนาดที่ไมอาจรูไดวาการกระทําของตนเปนสิ่งที่ผิด

                 กฎหมาย ดําเห็นคนอื่นเลื่อยไมก็ทําตาม โดยไมรูการกระทํานั้น เปนความผิดตาม พ.ร.บ.ปาไม ถือวา
                 ดํากระทําโดยมิไดรูสํานึกในการที่กระทํา ดําไมตองรับผิดทางอาญา
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21