Page 18 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 18

๕




                            ๒.  การกระทําไมมีกฎหมายยกเวนความผิด
                            การกระทําที่ครบ “องคประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติตามโครงสรางขอที่ ๑ หากเปน

                 การกระทําที่มีกฎหมายยกเวนความผิด ผูกระทําก็ไมตองรับผิดในทางอาญา กฎหมายยกเวนความผิด
                 มีผลทําใหผูกระทํา “ไมมีความผิด” (ดูมาตรา ๖๘) หรือกลาวอีกในหนึ่งคือ ทําใหผูกระทํามีอํานาจกระทําได

                            กฎหมายยกเวนความผิดมีมากมายหลายกรณี เชน
                            ๑.  กฎหมายยกเวนความผิดในประมวลกฎหมายอาญา เชน

                                 ๑.  การกระทําโดยปองกัน ตามมาตรา ๖๘
                                 ๒.  การทําแทงกรณีพิเศษ ตามมาตรา ๓๐๕
                                 ๓.  การแสดงความคิดเห็น  หรือขอความใดโดยสุจริต  ตามมาตรา  ๓๒๙

                 หรือการแสดงความคิดเห็นหรือขอความในกระบวนพิจารณาคดีในศาลโดยคูความหรือทนายความ
                 ของคูความตามมาตรา ๓๓๑

                            ๒.  กฎหมายยกเวนความผิดที่มิไดมีบัญญัติไวเปนลายลักษณอักษร เชน หลักในเรื่อง
                 ความยินยอม ซึ่งยกเวนความผิดในบางกรณี หลักดังกลาวไมมีกฎหมายบัญญัติไวโดยตรงดังเชน

                 เรื่องปองกัน แตก็นํามาใชไดโดยถือเปน “หลักกฎหมายทั่วไป” การนํามาใชไมขัดตอหลักในมาตรา ๖
                 เพราะนํามาใชเพื่อเปนคุณแกผูกระทํา

                                 จารีตประเพณี ก็ถือไดวาเปนหลักกฎหมายทั่วไปที่ยกเวนความผิดได เชน จารีต
                 ประเพณีใหอํานาจครูตีเด็กนักเรียนพอสมควรเพื่อวากลาวสั่งสอน หรือพระภิกษุมีอํานาจลงโทษ

                 ศิษยวัดได (ฎีกาที่ ๔๒๙-๔๓๐/๒๕๐๕)
                            ๓.  กฎหมายยกเวนความผิดในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เชน ป.วิอาญา

                 มาตรา ๗๘ (๑) การจับบุคคลตามหมายจับที่ออกโดยชอบดวยกฎหมายผูจับไมมีความผิดตอเสรีภาพ
                 หรือหากการจับนั้นจําเปนตองทําใหทรัพยของผูถูกจับเสียหาย เชน จําตองยิงยางที่ลอรถจนยางแตก

                 เพื่อรถหยุดจะจับกุมคน ซึ่งเปนการกระทําที่เหมาะแกพฤติการณแหงเรื่องในการจับ ตาม ป.วิอาญา
                 มาตรา ๘๓ ผูจับไมมีความผิดฐานทําใหเสียทรัพย

                                 อยางไรก็ตาม แมการกระทําที่ครบ “องคประกอบ” ที่กฎหมายบัญญัติตามโครงสราง
                 ขอ ๑ จะไมมีกฎหมายยกเวนความผิดตามโครงสรางขอ ๒ ก็ยังไมอาจสรุปไดทันทีวาผูกระทําตองรับผิด
                 ในทางอาญาจะตองพิจารณาโครงสรางขอ ๓ ตอไปดวยวา การกระทํานั้นมีกฎหมายยกเวนโทษ

                 หรือไม

                            ๔.  กฎหมายยกเวนความผิดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เชน
                                 ๔.๑  ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๔๗ ที่บัญญัติใหเจาของที่ดิน
                 ใชสิทธิตัดรากไมที่รุกเขามาในที่ดินที่ติดตอและเอาไวเสีย ผูกระทํายอมไมมีความผิดฐานทําใหเสียทรัพย

                                 ๔.๒  ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๕๐ การทําบุบสลายหรือทําลาย
                 ทรัพยสิ่งหนึ่งสิ่งใด เพื่อบําบัดปดปองภยันตรายซึ่งมีมาเปนสาธารณะโดยฉุกเฉิน เชน ทําลายทํานบ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23