Page 3 - สารกรมการแพทย์ฉบับที่ 10
P. 3

ขาว Hot ประเด็นรอน   3
        กรมการแพทยบูรณาการภาคสวน






       รวมวิจัยกัญชารักษาโรคอยางถูกตอง เหมาะสม





                                                                  สิ่งสำคัญของการนำกัญชามาใชทางการแพทยคือ การคำนึงถึง
                                                             ประโยชนตอผูปวยเปนหลัก และอาการไมพึงประสงคตองเปนที่
                                                             ยอมรับได โดยเฉพาะอยางยิ่งการนำกัญชามาใชในเด็กตองใช

                                                             อยางระมัดระวังมากเปนพิเศษ เนื่องจากอาจสงผลตอการพัฒนา
                                                             ทางสมองของเด็ก ทั้งนี้ สารสกัดกัญชา ขนาด และปริมาณที่ใช
                                                             ตองถูกตองตามขอมูลวิชาการสนับสนุน ซึ่งในอนาคตหากประเทศไทย

                                                             สามารถปลูกกัญชาเพื่อนำมาใชทางการแพทยไดโดยไมขัดตอกฎหมาย
                                                             จะสามารถลดคาใชจายในการนำเขายาที่เปนสารสกัดหรือ

                                                             สารสังเคราะหกัญชาจากตางประเทศลงได รวมถึงยาอื่น ๆ
                                                             ที่สามารถใชกัญชารักษาแทนไดเชนกัน สำหรับกรณีกัญชา
            นายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย     หรือน้ำมันกัญชาใชไดดีในการรักษามะเร็ง ปจจุบันยังไมมีขอมูล

       และประธานคณะทำงานเพื่อพิจารณากัญชามาใชทางการแพทย    ทางวิชาการที่นาเชื่อถือเพียงพอสนับสนุนประเด็นดังกลาว ดังนั้น

       ขอขอบคุณทุกภาคสวนที่ใหความสนใจและหวงใยประเด็นขาว  จึงถือเปนโอกาสที่จะสงเสริมใหหนวยงานตาง ๆ ไดทำการศึกษาวิจัย

       การนำกัญชามาใชทางการแพทยอยางเหมาะสม ขอมูลที่ถูกตองคือ ในการนำสารสกัดจากกัญชามาใชประโยชนทางการแพทยในประเด็น
       สารสกัดจากกัญชาในสัดสวนและปริมาณที่เหมาะสม สามารถ ของมะเร็งและโรคอื่น ๆ ตอไป
       นำมาใชรักษาโรคได ซึ่งในหลายประเทศใชสารสกัดกัญชา         อธิบดีกรมการแพทย กลาวเนนย้ำวา กรมการแพทยเปน

       ในทางการแพทยอยางถูกกฎหมาย โดยโรคที่มีหลักฐานทางวิชาการ กรมวิชาการ มีความมุงมั่นใหผูปวยไดรับการดูแลรักษาอยางถูกตอง
       วิจัยสนับสนุนชัดเจนวากัญชามีประโยชนในการรักษา ไดแก  ตามหลักวิชาการ มีความปลอดภัย สามารถลดอาการเจ็บปวย

       ผูปวยมะเร็งที่ไดรับเคมีบำบัดแลวคลื่นไสอาเจียน โรคลมชักในเด็ก  เพื่อใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดี สำหรับประเด็นการนำกัญชา
                                                             มาใชรักษาปญหาดานสุขภาพจิต อาทิ สมองเสื่อม ซึมเศรา
       ที่รักษายากหรือลมชักที่ดื้อตอการรักษาดวยวิธีตาง ๆ และผูปวย
                                                             โรควิตกกังวล นั้น ขณะนี้ขั้นตอนอยูระหวางรอรับฟงความคิดเห็น
       โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งที่มีภาวะกลามเนื้อหดเกร็ง นอกจากนี้
                                                             จากผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานสุขภาพจิต ซึ่งการดำเนินการทั้งหมดนี้
       ผูปวยที่มีอาการปวดเสนประสาทที่รักษาดวยวิธีการตาง ๆ
                                                             เพื่อใหผูปวยไดมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งนี้ คณะทำงานเพื่อพิจารณา
       แลวไมไดผล สารสกัดจากกัญชาอาจจะชวยบรรเทาอาการปวด
                                                             กัญชามาใชทางการแพทยยินดีรับฟงความคิดเห็นจากทุกภาคสวน
       ของผูปวยลงได แตการนำมาใชตองอยูภายใตดุลพินิจของแพทย
                                                             เพื่อการดำเนินการใหผูปวยไดรับประโยชนจากการรักษาดวยกัญชา
       และเงื่อนไขผูปวยเปนกรณีไป เพราะกัญชาเปนยาเสพติดที่ออกฤทธิ์
                                                             อยางแทจริง
       แบบผสมผสาน ทั้งกระตุนประสาท กดประสาท และหลอนประสาท

       ซึ่งในสารสกัดของกัญชามีสาร Tetrahydrocannabino (THC)
       ที่ออกฤทธิ์ตอจิตและระบบประสาท เมื่อเสพกัญชาสาร THC

       จะถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดและสมองอยางรวดเร็ว อาจทำให
       เกิดโทษและอาการไมพึงประสงคได โดยอาการพบไดบอย ไดแก

       ซึมเศรา สับสน ประสาทหลอน กระสับกระสาย ตื่นเตน เวียนศีรษะ
       ปากแหง เปนตน


 สารกรมการแพทย                                                              ปที่ 1 ฉบับที่ 10 สิงหาคม 2561  สารกรมการแพทย
   1   2   3   4   5   6   7   8