Page 4 - สารกรมการแพทย์ฉบับที่ 10
P. 4

4      อโรคยา

        กรมการแพทยแนะประชาชน



        เลือกรับประทานอาหาร





        อุดมแคลเซียมดีกวาพึ่งอาหารเสริม





              โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย แนะนำประชาชนควรไดรับแคลเซียมจากการรับประทานอาหาร และออกกำลังกายในชวงเชา

        เพื่อใหรางกายไดรับวิตามินดีจากแสงแดด ชวยเสริมการดูดซึมแคลเซียมใหรางกาย ดีกวาไปพึ่งอาหารเสริม

             นายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย เปดเผยวา ปจจุบันคนไทยใหความใสใจและสนใจดูแลสุขภาพมากขึ้น

        ไมวาจะเปนการเลือกรับประทานอาหาร ออกกำลังกาย ตลอดจนเลือกใชผลิตภัณฑเสริมสุขภาพ อาทิ วิตามินซี วิตามินบำรุงรางกาย
        แคลเซียม ฯลฯ ทั้งนี้ แคลเซียมเปนแรธาตุที่จำเปนตอรางกาย แตเนื่องจากรางกายไมสามารถสังเคราะหแคลเซียมไดจึงตองรับมาจากอาหาร

        ผานการยอยและดูดซึมที่ลำไสเล็ก ซึ่งการดูดซึมแคลเซียมทั้งเด็กและผูใหญรางกายสามารถดูดซึมไดประมาณ 20-25 เปอรเซ็นตเทานั้น

        สวนที่เหลือจะขับถายทิ้งไป หนาที่ของแคลเซียมนอกจากจะเปนสวนประกอบของกระดูกและฟน ยังซอมแซมสวนที่สึกหรอ
        ชวยในการแข็งตัวของเลือด การทำงานของกลามเนื้อ ระบบประสาท ชวยกระตุนการทำงานของเอนไซม และควบคุมสมดุลของ

        กรดและดางในรางกาย หากขาดแคลเซียมในเด็กจะทำใหเกิดโรคกระดูกออน ทำใหการเจริญเติบโตของกระดูกผิดปกติ ถาใน

        หญิงวัยหมดประจำเดือนจะทำใหเกิดโรคกระดูกพรุน และเปนสาเหตุของโรคกระดูกเสื่อม นอกจากนี้ หากรางกายขาดแคลเซียม
        อยางรุนแรง อาจกอใหเกิดภาวะกลามเนื้อเกร็ง กระตุกและชัก เปนตน

             นายแพทยสมพงษ ตันจริยภรณ ผูอำนวยการโรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย กลาวเพิ่มเติมวา ปจจัยเสี่ยงที่สงผล
        ทำใหรางกายขาดแคลเซียม เชน ไดรับแคลเซียมไมเพียงพอ ไมออกกำลังกาย ดื่มกาแฟเกินขนาด ดื่มแอลกอฮอลมากเกินไป

        ขาดฮอรโมนเอสโตรเจนในหญิงวัยหมดประจำเดือน และมีประวัติคนในครอบครัวเปนโรคกระดูกพรุน หรือเคยกระดูกหักมากอน

        โดยปริมาณแคลเซียมที่ควรไดรับในแตละวันตามชวงอายุมีปริมาณไมเทากัน โดยปกติผูใหญที่อายุนอย 40-50 ป ควรไดรับแคลเซียม
        800-1,000 มิลลิกรัมตอวัน อายุ 50 ปขึ้นไป ควรไดรับแคลเซียม 1,000-1,200 มิลลิกรัมตอวัน หากอายุมากกวา 60 ปขึ้นไป

        และผูหญิงตั้งครรภ ควรไดรับแคลเซียม 1,200 มิลลิกรัมตอวัน ทั้งนี้ประชาชนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่อุดมไปดวยแคลเซียม
        โดยไมตองพึ่งอาหารเสริม ไดแก งาดำ (1 ชอนโตะมีแคลเซียม

        132 มิลลิกรัม) กะป กุงแหง (1 ชอนโตะมีแคลเซียม 140 มิลลิกรัม)

        ปลาหรือสัตวน้ำขนาดเล็กที่ทานไดทั้งตัว เตาหู นม และผลิตภัณฑ
        จากนม พืชตระกูลถั่วและผลิตภัณฑจากถั่ว รวมถึง ตำลึง พริก

        กระถิน ใบยอ กะเพรา โหระพา กระเจี๊ยบ ผักกาดเขียว ผักกวางตุง

        คะนา เปนตน โดยเลือกรับประทานตามปริมาณที่เหมาะสม
        (ดังตาราง แนบทาย) รวมทั้งออกกำลังกายในชวงเวลา 7 โมง

        ถึง 9 โมงเชา เพื่อใหรางกายไดรับวิตามินดีจากแสงแดดซึ่งเปน

        ตัวชวยในการดูดซึมแคลเซียม และที่สำคัญหากมีความจำเปนที่จะ
        ตองรับประทานแคลเซียม ควรขอคำปรึกษาจากแพทยผูเชี่ยวชาญ

        ไมควรซื้อแคลเซียมมารับประทานเอง

        สารกรมการแพทย  ปที่ 1 ฉบับที่ 10 สิงหาคม 2561
   1   2   3   4   5   6   7   8