Page 5 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 5
ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี
SARABURI Provincial Office
บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ส านักงานจังหวัดสระบุรี เป็นส่วนงานระดับ
ภูมิภาค มีโครงสร้างการบริหารออกเป็น 10 สาขา ให้บริการในพื้นที่จังหวัดสระบุรี จ านวนประชากรในเขตพื้นที่
จังหวัดสระบุรี ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2561 รวม 645,024 คน จ าแนกเป็นประชากรชาย 318,128 คน
ประชากรหญิง 326,896 คน จ านวนครัวเรือนเกษตรกร 31,175 ครัวเรือน เป็นลูกค้า ธ.ก.ส. ทั้งหมด 38,662 คน
ลูกค้าเคลื่อนไหว 24,104 คน ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2561 สนจ.สระบุรี มีเงินให้สินเชื่อคงเหลือ 9,803 ล้านบาท
เงินฝากคงเหลือ 13,595 ล้านบาท
มีภารกิจในการขับเคลื่อนงานนโยบายตามกรอบแผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี ปีบัญชี 2560 – 2564 (ทบทวนครั้งที่
2 ประจ าปีบัญชี 2562) และแผนธุรกิจประจ าปีบัญชี 2562 ของธนาคาร เพื่อพิจารณาปรับแผนยุทธศาสตร์ที่
จะต้องด าเนินการต่อไปในช่วงระยะเวลา 3 ปีที่เหลือ ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
เพื่อจัดการความท้าทายและใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ โดยศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกและ
ภายในที่ส่งผลต่อบริบทในการด าเนินงานของ ส านักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี การรับฟังความคิดเห็นและความ
คาดหวังจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ส าคัญของ ธ.ก.ส. เพื่อประกอบการวิเคราะห์ผลกระทบจากสภาพแวดล้อม
ภายนอกและภายในต่าง ๆ มีผลการวิเคราะห์ ดังนี้
สรุปกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมกำรด ำเนินงำน
สภำพแวดล้อมภำยนอก
1) ด้ำนนโยบำยและทิศทำงภำครัฐ (Political & Legal Forces) : ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนปฏิรูป
ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์รัฐวิสาหกิจ และแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ล้วน
ก าหนดทิศทางการพัฒนาเป็นไปในทางเดียวกันเพื่อความส าเร็จและความก้าวหน้าของคนไทยและประเทศไทย
โดยมีเป้าหมายให้ “ประเทศชำติมั่นคง ประชำชนมีควำมสุข เศรษฐกิจพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม
ฐำนทรัพยำกรธรรมชำติยั่งยืน” มุ่งให้ความส าคัญกับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ การสร้างความเสมอภาคทางสังคม การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ต้องการให้
ประเทศหลุดพ้นจากการเป็นประเทศรายได้ปานกลาง ก้าวสู่ประเทศรายได้สูง ลดความเหลื่อมล้ าในสังคม การ
พัฒนาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
2) ด้ำนเศรษฐกิจ (Economics Forces) : การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน รวมถึงอุตสาหกรรม
ของจังหวัดสระบุรีขยายตัวประมาณร้อยละ 6.9 ต่อปี สะท้อนจากเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ โดยเฉพาะการ
บริโภคภาคเอกชน จากภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และจากการเติบโตค่อนข้างดีของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจ
ในภูมิภาคเอเชียในปี 2561 ส่งผลให้เศรษฐกิจประเทศไทยมีการปรับตัวดีขึ้นจากปัจจัยการส่งออก การท่องเที่ยวที่
ขยับตัวเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้การส่งออกสินค้าเกษตรมีการปรับตัวดีขึ้นตาม ขณะที่การลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของ
5