Page 8 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 8

ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี

                        SARABURI  Provincial  Office





               กรอบควำมยั่งยืน

                       ส านักงาน ธ.ก.ส. จัวหวัดสระบุรี ยึดมั่นในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และค านึงถึงความส าคัญ

               ของการก ากับดูแลที่ดี การบริหารความเสี่ยง และเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
               Development Goals) มาเป็นแกนของการพัฒนาและเป็นแนวทางการบริหารจัดการ โดยได้ให้นิยามความยั่งยืน

               ขององค์กรไว้ว่า “เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคงยึดมั่นการด าเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

               มีปัจจัยความยั่งยืนของธนาคาร 3 ด้าน แต่ละด้านจะค านึงถึงประเด็นความยั่งยืนใน 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม
               และสิ่งแวดล้อม โดยสรุปความยั่งยืนในทั้ง 3 ด้าน ดังนี้


                       1) ธ.ก.ส. และพนักงาน : ธ.ก.ส. มั่นคง ยั่งยืน ชื่อเสียงดี พนักงานมีความรูความสามารถสร้างสรรค์คุณค่า
               ต่อผู้มีส่วนได้ สังคม และสิ่งแวดล้อม


                       2) ลูกค้า : มีอาชีพมั่นคง มีเงินออม ครอบครัวเป็นสุข สุขภาพแข็งแรงอยู่ภายใต้ชุมชนและสิ่งแวดล้อมที่ดี


                      3) ชุมชนและเครือข่าย : เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ อยู่คู่กับสิ่งแวดล้อม และ

               สร้างการเชื่อมโยงเครือข่ายให้เกิดการพัฒนาร่วมกันอย่างยั่งยืน




               ควำมสำมำรถพิเศษขององค์กร (Core Competency)


                       ความสามารถพิเศษขององค์กรที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของ ธ.ก.ส. ประกอบด้วย


                      1) การให้สินเชื่อรวมกลุ่ม โดยให้ลูกค้าในแต่ละกลุ่มมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกันและ
               เสริมสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม


                      2) ลูกค้ามีความผูกพันกับธนาคารสูง และใช้บริการอย่างต่อเนื่อง


                      3) เชี่ยวชาญในการจัดหา/ให้บริการการเรียนรู้และพัฒนาให้กับลูกค้า ทั้งด้านการผลิต การจัดการตลาด
               สิ่งแวดล้อม และด ารงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง


                      4) เครือข่าย (Networking) ที่ครอบคลุมในการพัฒนาชนบท


                      5) ความเชี่ยวชาญตลอดห่วงโซ่มูลค่าสินค้าเกษตร












                                                                                                                  8
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13