Page 6 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 6
ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี
SARABURI Provincial Office
ภาครัฐที่อยู่ในแผนมานานได้เริ่มลงมือท าและขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องในปีต่อ ๆ ไป การเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในปี
2562 จะช่วยสร้างบรรยากาศการลงทุนภาคเอกชนในประเทศเพิ่มมากขึ้นตาม รวมทั้งการดูแลเกษตรกรผู้มีรายได้
น้อย การสร้างความเข้มเข็งให้ SMAEs และเศรษฐกิจฐานรากตามโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ และมาตรการ
ขยายระยะเวลาช าระหนี้เกษตรกร เพื่อส่งผลให้รายได้ภาคเกษตรมีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์ที่ดี
3) ด้ำนสังคมและสิ่งแวดล้อม (Social and Environmental Forces) : ส านักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์ว่าประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์”
(Complete Aged Society) ภายในปี 2564 และจะเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society)
ในปี 2574 ขณะที่ภาคเกษตรมีการจ้างแรงงานสูงถึงร้อยละ 30.9 ของก าลังแรงงานทั้งหมด ครอบคลุมจ านวน
ครัวเรือนถึง 6.4 ล้านครัวเรือน (ส านักงานสถิติแห่งชาติ, 2561) จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคม
ผู้สูงอายุ พื้นที่ท าการเกษตรและแรงงานภาคการเกษตรที่ลดลงรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค
ยังคงเป็นความท้าทายส าหรับ ธ.ก.ส. และภาคเกษตรไทย ซึ่ง ธ.ก.ส. ต้องค านึงถึงในการด าเนินงานเพื่อตอบสนอง
ความต้องการที่หลากหลายและซับซ้อนขึ้น รวมทั้งในด้านสิ่งแวดล้อม แนวโน้มของสภาวะโลกร้อนจะสร้างความ
เสียหายให้กับการเกษตรแบบดั้งเดิมที่ยังพึ่งพาธรรมชาติเป็นหลัก จึงต้องเร่งเสริมสร้างขีดความสามารถเกษตรกร
ไทย ปฏิรูปภาคการเกษตรเพื่อให้ปรับโครงสร้างการผลิตให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้
4) ด้ำนเทคโนโลยี (Technology Forces) : การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีด้านการเงินหรือ Fintech
ได้ทวีความรุนแรงส าคัญเพิ่มมากขึ้นในอุตสาหกรรมการเงิน ธนาคารทั้งในและต่างประเทศน าเทคโนโลยีเหล่านี้มา
ใช้ออกแบบผลิตภัณฑ์ บริการ และช่องทางใหม่ ๆ เพื่อความสะดวกสบายในการใช้บริการของลูกค้า และลดต้นทุน
การด าเนินงาน จึงมีผู้ให้บริการ Non – Bank เข้ามาแข่งขันมากขึ้นในอุตสาหกรรม ขณะที่เทคโนโลยีที่สนับสนุน
การท าการเกษตรหรือ Agritech สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรได้ ลดผลกระทบจากการขาด
แคลนแรงงานภาคเกษตร และภาวะโลกร้อน แต่ต้องลงทุนสูง
สภำพแวดล้อมภำยใน
จากการวิเคราะห์สถานการณ์และความท้าทายของส านักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรีในปัจจุบัน พบว่า
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรง คือ ด้านนโยบายและทิศทางภาครัฐ ที่มีเป้าหมายมุ่งให้ความส าคัญกับการเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ การสร้างความเสมอภาคทางสังคม การพัฒนา
ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ต้องการให้ประเทศหลุดพ้นจากการเป็นประเทศรายได้ปานกลาง ก้าวสู่ประเทศ
รายได้สูง ลดความเหลื่อมล้ าในสังคม การพัฒนาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่าง
ยั่งยืน ส านักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี จึงต้องสนับสนุนนโยบายดังกล่าวในฐานะเป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
เป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของทุกรัฐบาล ซึ่งผลการด าเนินงานมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง แหล่งทุนส่วน
ใหญ่ยังคงมาจากเงินฝาก ส าหรับด้านสินเชื่อ ส านักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี ยังคงสัดส่วนการให้สินเชื่อนอกภาค
การเกษตรไม่เกินร้อยละ 20 ตามนโยบายของธนาคาร สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมากขึ้น ในปี
6