Page 5 - e-book สยามสแควร์
P. 5

2


                                                เศรษฐกิจของสยาม



                            หลังจากนั้นเศรษฐกิจในประเทศไทยเจริญเติบโต เป็นไปได้ด้วยดี มีร้านค้าใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย ทั้ง

               ร้านอาหารมีระดับ หรือร้านอาหารฟาสท์ฟู้ด และมีการสร้างสถานีต ารวจและสถานีดับเพลิงตรงข้ามกับโรงภาพยนตร์สยาม

               ในปี พ.ศ. 2523 และมีการพัฒนาธุรกิจศูนย์การค้าให้ใหญ่ขึ้น มีธุรกิจใหม่ ๆ เข้ามา มีการพัฒนาธุรกิจอย่างต่อเนื่อง


                       จนในปี พ.ศ. 2540 เกิดวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจในประเทศไทยอย่างหนัก ผู้คนไม่มีก าลังซื้อ และค่าเช่าห้องแถว

               ซึ่งปรับตัวสูงมากก่อนหน้านี้ ส านักทรัพย์สินจุฬาฯได้ปรับราคาค่าเช่าขึ้นถึง 1,200% จากค่าเช่าเซ้งเดิม 10 ปี ราคา

               500,000 บาท ปรับขึ้นเป็นราคา 6-7 ล้านบาท ถือเป็นจุดเปลี่ยนครั้งส าคัญของผู้ค้าขายในสยามสแควร์ ถึงขนาดมีการ

               ชุมนุมประท้วงครั้งใหญ่ จนในที่สุดจุฬาฯได้ปรับลดลงจาก 1,200% ที่ขึ้นราคา ลดลงเหลือ 600% ขณะเดียวกันช่วง

                                                     [5]
               เดียวกันนี้ ก าลังมีก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าบีทีเอส   ท าให้ผู้เช่าร้านจ านวนมากอยู่ไม่ได้จึงตัดสินใจปิดตัวไปเป็นจ านวน
               มาก ร้านตัดเสื้อหลายแห่งต้องเปลี่ยนรูปแบบ มาเป็นขายเสื้อผ้า

               ส าเร็จรูปเพื่อให้เหมาะกับก าลังซื้อของลูกค้า พฤติกรรมการซื้อของ

               ของคนเริ่มเปลี่ยนแปลงไป ขณะเดียวกันก็เกิดเจ้าของธุรกิจรายเล็ก

               ๆ เพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันทางจุฬาฯ ให้เช่าเพื่อเป็นโรงเรียนกวดวิชา

               โดยเฉพาะซอย 5-6-7 จากเดิมมีไม่กี่โรงเรียน ก็เพิ่มขึ้นเป็นเกือบ

               50 โรงเรียน เมื่อรถไฟฟ้าสร้างแล้วเสร็จก็ยิ่งท าให้สยามสแควร์

               กลายเป็นศูนย์กลางการเดินทางเข้าถึงได้สะดวกมากขึ้น


               เมื่อ พ.ศ. 2541 มีการปรับปรุงพื้นที่บริเวณซอย 5 บนเนื้อที่ 1 ไร่ 41 ตารางวา ให้เป็นศูนย์รวมวัยรุ่น มีลานกิจกรรม

               ลานน้ าพุ เรียกว่า "เซ็นเตอร์พอยท์" เปิดด าเนินการเมื่อ พ.ศ. 2542 ที่สร้างสีสันและความคึกคักขึ้น มีสินค้าและบริการ

               หลายอย่างที่ต้องการเปิดตัว ก็มักมาท ากิจกรรมที่นี่ อีกทั้งการเปิดตัวของสยามพารากอน และการปรับโฉมของสยามเซ็น

               เตอร์ มาบุญครอง ก็เอื้อให้จ านวนคนที่แวะเวียนมาในสยามสแควร์มากขึ้น


               ในปี พ.ศ. 2548 ส านักทรัพย์สินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการปรับขึ้นราคาเช่าพื้นที่เพิ่มขึ้นอีก 600% โดยอ้างว่าไม่ได้

               ขึ้นค่าเช่ามานานนับสิบปี ท าให้โรงเรียนกวดวิชา ซึ่งปักหลักอยู่ที่นี่มานาน เริ่มหันไปหาท าเลแห่งใหม่ เช่น โครงการศูนย์

               การศึกษาอาคารวรรณสรณ์ ที่หัวมุมถนนศรีอยุธยา


               มีการประเมินค่าทรัพย์สินทางด้านอสังหาริมทรัพย์ในไทย โดยท าการส ารวจการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินในเขตกรุงเทพ และ

               ปริมณฑล ในปี พ.ศ. 2549 โดยบริเวณสยามแควร์มีราคาสูงสุดที่ตารางวาละ 640,000 บาท เพิ่มขึ้นถึง 16.4% จากที่ใน

               ปี พ.ศ. 2548 ส าหรับอันดับท าเลที่ดินราคาแพงรองลงมาคือ อันดับ 2 ย่านเยาวราช ตารางวาละ 630,000 บาท ซึ่งเคย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10