Page 7 - e-book สยามสแควร์
P. 7

4


                                    สยามกับปัญหาที่เกิดขึ้นและการพัฒนา



               ปัญหา


                       นับตั้งแต่สยามสแควร์ได้เปิดด าเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 และธุรกิจมีการแข่งขันต่อเนื่อง ทั้งการปรับปรุง
               เปลี่ยนแปลงภายนอก รูปแบบอาคารอยู่เสมอ แต่ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมถึงภูมิทัศน์ ก็ย่อมเสื่อมสภาพและทรุด

               โทรมตามกาลเวลา ปัญหาที่ผู้ค้าและผู้ใช้บริการต้องประสบอยู่ เช่น สภาพภายนอกอาคารเก่า ทางเดินเท้าที่แคบและช ารุด
               ความสกปรกของระบบการระบายน้ าเสีย ปัญหาน้ าท่วม การวางระบบสาธารณูปโภคที่ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น

               สายไฟฟ้าหรือโทรศัพท์และระบบการก าจัดขยะ เป็นต้น ซึ่งมีการแก้ปัญหาเป็นบางส่วน แต่ระบบสาธารณูปโภคโดยรวมยัง
               ไม่ได้มีการวางแผนระยะยาว

                        -ปัญหาปัญหาแผงลอยบนทางเท้าสยามสแควร์ ประเด็นเกี่ยวกับแผงลอยบนทางเท้ารอบสยามสแควร์นั้น ดูผิว

               เผินอาจจะเหมือนเป็นเรื่องเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับปัญหาอื่นๆ ของประเทศ ซึ่งดูเหมือนจะรุมเร้ารุนแรงในหลายๆ เรื่อง
               แต่บังเอิญพื้นที่สยามสแควร์เป็นย่านการค้าใจกลางเมืองกรุงเทพฯ การที่สยามส

               แควร์แห่งนี้มีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐเป็นเจ้าของ
               และมีหน่วยงานเทศกิจเขตปทุมวัน ในก ากับของกรุงเทพมหานครเป็นฝ่ายที่มี

               หน้าที่ในการดู  แลพื้นที่สาธารณะส่วนนี้โดยตรงอีกเรื่องหนึ่ง  ดังนั้นปัญหา
               เกี่ยวกับการยึดครองพื้นที่บาทวิถีตรงสยามสแควร์ของบรรดาผู้ค้าแผงลอยจึง

               ไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องของความยากล าบากของผู้สัญจรทางเท้าหรือภาพอันรกหูรก

               ตาส าหรับผู้ที่ผ่านไปผ่านมาบนท้องถนนเท่านั้น แต่เรื่องนี้ยังเป็นเรื่องของการ

               ครอบครองสาธารณะสถานเพื่อประโยชน์ส่วนตัว เป็นการละเมิดสิทธิ การละเมิด

               กฎหมาย ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาคือทางส านักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ ก็ได้
               พยายามจะประนีประนอมกับผู้ค้าแผงเหล่านี้แล้ว โดยเสนอจัดให้มีพื้นที่ค้าขายเป็น

               ตลาดนัดในบริเวณด้านหลังอาคารจอดรถแห่งใหม่ เรียกว่าสยามสแควร์ไนท์มาร์เก็ต
                       -ปัญหาการมั่วสุมของกลุ่มวัยรุ่น ซึ่งในปี พ.ศ. 2548 มีการส ารวจปัญหาเรื่องการมั่วสุมของกลุ่มวัยรุ่น พบว่า

               สยามสแควร์อยู่ในพื้นที่ใกล้แหล่งมั่วสุมมากที่สุดแห่งหนึ่ง โดยมีแหล่งมั่วสุมอยู่ใกล้ 69 แหล่งซึ่งได้มีการพยายามแก้ไข
               ปัญหาดังกล่าว โดยเคยมีแนวความคิดในเชิงสร้างสรรค์ อย่างบริเวณเซ็นเตอร์พอยท์ ให้มีลักษณะเป็นการมั่วสุมในเชิง

               สร้างสรรค์ โดยเซ็นเตอร์พ้อยท์ที่ปรับเปลี่ยนในครั้งนั้นจะเน้นด้านบันเทิงแบบให้ความรู้


                       -ปัญหาของผู้ค้าคือปัญหาเรื่องค่าเช่า โดยเริ่มจากการขึ้นค่าเช่าในปี พ.ศ. 2540 จากค่าเช่าเซ้งเดิม 10 ปี ราคา
               500,000 บาท ปรับขึ้นมาก 600% จากนั้นในปี พ.ศ. 2548 ได้มีการปรับค่าเช่าใหม่อีก 600% อยู่ที่ 80,000-160,000

               บาทต่อเดือนต่อคูหา ซึ่งอัตราค่าเช่าจะขึ้นอยู่กับแต่ละท าเล คือบริเวณที่แพงที่สุด (พื้นที่เอบวก) คือติดสถานีรถไฟฟ้าบีที

               เอส หรือบริเวณสยามสแควร์ซอย 3-4 มีพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด 48 คูหา จากทั้งหมด 610 คูหา จะคิดค่าเช่าขึ้นเป็น 2.5
               แสนบาทต่อเดือนต่อคูหา และจะสัญญาใหม่ทุก ๆ 3-5 ปี และหากเป็นท าเลมีศักยภาพมากจะท าสัญญาระยะสั้น 3 ปี

               สัดส่วนของเกรดท าเลพื้นที่ในสยามสแควร์ คือพื้นที่ระดับเอบวก ที่อยู่บริเวณสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส กับเซ็นเตอร์พอยต์
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12