Page 105 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 105

๙๖




                          ๓.  กลุมเครื่องมือ อุปกรณอัจฉริยะ หุนยนต และระบบเครื่องกลที่ใชระบบอิเล็กทรอนิกส
              ควบคุม เชน เทคโนโลยีหุนยนต เปนตน

                          ๔.  กลุมดิจิทัล เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตที่เชื่อมตอและบังคับอุปกรณตางๆ ปญญาประดิษฐ
              และเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว เชน เทคโนโลยีดานการเงิน อุปกรณเชื่อมตอออนไลนโดยไมตองใชคน

              เทคโนโลยีการศึกษา อี–มารเก็ตเพลส อี–คอมเมิรซ เปนตน
                          ๕.  กลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลคาสูง  เชน เทคโนโลยี

              การออกแบบ ธุรกิจไลฟสไตล  เทคโนโลยีการทองเที่ยว การเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ  เปนตน



                          ÊÔè§·Õ褹ä·Â¤Ò´Ç‹Ò¨Ðä´ŒÃѺ¨Ò¡ Thailand ô.ð ¤×Í
                          ๑.  อยูใน “สังคมไทย ๔.๐” ที่เปนสังคมที่มีความหวัง (Hope) เปนสังคมที่เปยมสุข

              (Happiness) และเปนสังคมที่มีความสมานฉันท (Harmony) เปนสังคมที่มีความพอเพียง โดยมี
              คนชนชั้นกลาง เปนคนสวนใหญของประเทศ เกิดความเทาเทียมในสังคม ความเหลื่อมลํ้าอยูในระดับตํ่า

              มีสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่ดี

                          ๒.  เปน คนไทย ๔.๐ ที่ไดรับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพดีและไดรับสวัสดิการทาง
              สังคมที่เหมาะสมตลอดทุกชวงชีวิต เปนคนทันโลก ทันเทคโนโลยี สามารถอยูบนเวทีโลกไดอยาง
              ภาคภูมิใจ และสามารถมีสวนรวมกับนานาชาติเพื่อทําใหโลกดีขึ้น นาอยูขึ้น

                          ๓.  เปน เกษตรกร ๔.๐ ที่หลุดพนจากกับดักความยากจน โดยผันตัวเองจากเกษตรกร

              ผูผลิตมาเปน ผูประกอบการทางการเกษตรสมัยใหม (Smart Farmers) มีการบริหารจัดการที่ดี
              มีตนทุนการผลิตตํ่า สามารถเพิ่มมูลคาสินคาทางการเกษตรจากการแปรรูป

                          ๔.  เปน SME ๔.๐ ที่สามารถสรางหรือใชนวัตกรรม เทคโนโลยี ความคิดสรางสรรค
              ในการสรางมูลคา ในสินคาและบริการ มีความสามารถทางการคาขาย สามารถเขาถึงตลาดในประเทศ

              ตลาดอาเซียน และตลาดโลก ทําใหมีรายไดสูงขึ้น มีชีวิตความเปนอยูดีขึ้น และมีอนาคตที่สดใส
                          ๕.  เกิด จังหวัด ๔.๐ ที่มีการกระจายความเจริญทั่วประเทศ เศรษฐกิจขยายตัว สามารถ

              ทํางานในถิ่นฐานบานเกิดไดโดยไมจําเปนตองเขามาทํางานในกรุงเทพฯหรือเมืองใหญ เนื่องจากมีลูทาง
              โอกาส และงานที่ดีกระจายอยูในทุกจังหวัดทั่วประเทศ

                          การสรางความเขมแข็งจากภายใน และการเชื่อมโยงกับประชาคมโลก Thailand ๔.๐
              เปนโมเดลที่ไดนอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวคิดหลักในการพัฒนาประเทศ ดังที่

              พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานพระราชดํารัสหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ครั้งแรก
              ในงานพระราชทานปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อวันพุธที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗

              ไว ความตอนหนึ่งวา “การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐาน คือความพอมี
              พอกิน พอใช ของประชาชนเปนเบื้องตนกอน โดยใชวิธีการและอุปกรณที่ประหยัด แตถูกตองตามหลัก

              วิชา เมื่อไดพื้นฐานมั่นคงพรอมพอควรและปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริมความเจริญและฐานะ
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110