Page 103 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 103

๙๔




                          สําหรับประเทศไทยเอง ณ ขณะนี้ยังติดอยูใน “กับดักประเทศรายไดปานกลาง” จะเห็น
              ไดจากในชวง ๕๐ ปที่ผานมา ในชวงระยะแรก (พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๓๖) เศรษฐกิจไทยมีการเติบโตอยาง

              ตอเนื่องอยูที่ ๗-๘% ตอป อยางไรก็ตาม ในชวงระยะถัดมา (พ.ศ.๒๕๓๗-ปจจุบัน) เศรษฐกิจไทย
              เริ่มมีการเติบโตในระดับเพียง ๓-๔% ตอปเทานั้น ประเทศไทยจึงมีอยูแค ๒ ทางเลือก หากเราปฏิรูป

              โครงสรางเศรษฐกิจไดสําเร็จ ประเทศไทยจะกลายเปน “ประเทศที่มีรายไดที่สูง” แตหากทําไมสําเร็จ
              กาวขามกับดักนี้ไปไมได ประเทศไทยก็จะตกอยูในภาวะที่เรียกกันวา “ทศวรรษแหงความวางเปลา”

              ไปอีกยาวนาน
                          ดวยสาเหตุนี้ประเทศไทยจึงจําเปนจะตองปรับตัวตามกระแสหลักของโลกเนื่องจากเปน

              ประเทศที่มีความเชื่อมโยงกับนานาประเทศในหลากหลายดาน และประเทศไทยก็มีความมุงหวังที่
              จะพัฒนาตนไปอยูในกลุมประเทศโลกที่ ๑ ไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในบริบทของโลกยุค

              The Fourth Industrial Revolution อยางเปนรูปธรรม ตามแนวทางที่แผนยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป
              ไดวางไว ดวยการสรางความเขมแข็งจากภายใน ควบคูไปกับการเชื่อมโยงกับประชาคมโลก ตามแนวคิด

              “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โดยขับเคลื่อนผานกลไก “ประชารัฐ”



                          ä·ÂᏴ ô.ð ¤×ÍÍÐäÃ?
                          “ไทยแลนด ๔.๐”  เปนวิสัยทัศนเชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ

              โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาล ภายใตการนําของพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี

              และหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ที่เขามาบริหารประเทศบนวิสัยทัศนที่วา “มั่นคง
              มั่งคั่ง และยั่งยืน” ที่มีภารกิจสําคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศดานตาง ๆ เพื่อปรับแก จัดระบบ

              ปรับทิศทาง และสรางหนทางพัฒนาประเทศใหเจริญ สามารถรับมือกับโอกาสและภัยคุกคามแบบใหม ๆ
              ที่เปลี่ยนแปลงอยางเร็ว รุนแรงในศตวรรษที่ ๒๑ ได กอนที่จะมาเปน Thailand ๔.๐ ประเทศไทย

              ในอดีตที่ผานมามีการพัฒนาดานเศรษฐกิจเปนไปอยางตอเนื่องตั้งแตยุคแรก
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108