Page 99 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 99

๙๐




              เดียวกันก็ไมเปนเสรีเต็มที่อยางไมมีการควบคุมดูแลไมใชอยูอยางโดดเดี่ยวหรืออยูโดยพึ่งพิงภายนอก
              ทั้งหมดเนนการกระทําที่พอประมาณบนพื้นฐานของความมีเหตุมีผลและการสรางภูมิคุมกัน

                          การเปนประชาคมอาเซียนมีสวนเกี่ยวของกับทุกภาคสวนในสังคมไมวาจะในดานการเมือง
              ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ดังนั้นจึงควรมีความเตรียมพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลง

              ดังนี้
                          ÀÒ¤ÃѰ  ในฐานะหนวยงานกํากับดูแลกฎหมายและกฎระเบียบภายในประเทศจําเปนตอง

              เรงปรับโครงสรางการบริหารจัดการรวมถึงกฎหมายและกฎระเบียบภายในประเทศใหสอดคลองกับ
              พันธกรณีตามกรอบความตกลงตางๆ โดยคํานึงถึงประโยชนโดยรวมของประเทศบนพื้นฐานของความ

              สมดุลและความมีเหตุมีผลและเรงรัดการพัฒนาบุคลากรในสาขาตางๆ ใหมีความรูความเชี่ยวชาญ
              เพื่อใหกาวทันกระแสการเปลี่ยนแปลงภายนอก และสรางระบบภูมิคุมกันที่ดี

                          ÀÒ¤àÍ¡ª¹  ในฐานะผูใชประโยชนจากประชาคมอาเซียนจําเปนตองเรียนรูถึงโอกาส
              และความทาทายที่กําลังจะเกิดขึ้นทั้งในดานการเปดเสรี การอํานวยความสะดวกทางการคาและการ

              ลงทุน การเชื่อมโยงระหวางกันในอาเซียน ซึ่งจะชวยเพิ่มขีดความสามารถของภาคเอกชนไทยในตลาดโลก

              หากรูจักใชประโยชนจากการเปนประชาคมอาเซียนไมวาในฐานะตลาดภูมิภาค ฐานการผลิต ฐานการ
              ลงทุนและพันธมิตรทางการคาของไทย
                          ÀÒ¤»ÃЪҪ¹  ในฐานะผูบริโภคจะเกี่ยวของกับประชาคมอาเซียนดวยการมีโอกาส

              ในการเลือกซื้อสินคาและบริการจากประเทศอาเซียนอื่นที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมมากขึ้น

              ขณะเดียวกันประชาชนก็ตองมีความรูความเขาใจในมาตรฐานสินคาเพื่อใหมั่นใจวาจะไมถูกเอาเปรียบ/
              หลอกลวงจากสินคาที่นําเขาจากตางประเทศ

                          ÀÒ¤»ÃЪҪ¹  ในฐานะลูกจางไมวาจะอยูในภาคราชการหรือภาคเอกชนจะมีโอกาส
              และความทาทายที่เกิดจากการเคลื่อนยายแรงงานฝมือในภูมิภาคที่งายขึ้นเปนการเพิ่มโอกาสในการ

              เขาไปทํางานในประเทศสมาชิกอาเซียนและเพิ่มรายไดจากการทํางานในตางประเทศ ในทางกลับกัน
              ก็จะตองเผชิญการแขงขันที่สูงขึ้นในตลาดแรงงานภายในประเทศจากแรงงานมีฝมือของประเทศสมาชิก

              อาเซียนอื่นจึงจําเปนตองเรงปรับตัวโดยการใฝหาความรูและพัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญใหสามารถ
              แขงขันไดในตลาดแรงงานระหวางประเทศ ขณะเดียวกันควรเปดรับการเรียนรูภาษาและวัฒนธรรมของ

              ประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อสรางความเปนหนึ่งเดียวกันในประชาคมอาเซียน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104