Page 98 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 98

๘๙




                             ¤ÇÒÁÃͺ¤Íº  คือ มีการวางแผนโดยสามารถที่จะนําความรูและหลักวิชาตางๆ มา
                 พิจารณาเชื่อมโยงสัมพันธกัน

                             ¤ÇÒÁÃÐÁÑ´ÃÐÇѧ คือ ความมีสติในการนําแผนงานไปปฏิบัติโดยรูเทาทันเหตุการณ
                 ที่เปลี่ยนแปลงไป

                             ¤Ø³¸ÃÃÁ ความซื่อสัตยสุจริตครอบคลุมคนทั้งชาติรวมทั้งเจาหนาที่ นักวิชาการ นักธุรกิจ
                 มีสองดานคือ ดานจิตใจ/ปญญาและดานกระทํา ในดานแรกเปนการเนนความรูคูคุณธรรมมีความ

                 ซื่อสัตยสุจริตและมีความรอบรูที่เหมาะสม สวนดานการกระทําหรือแนวทางดําเนินชีวิตเนนความอดทน
                 ความเพียร สติปญญาและความรอบคอบเพื่อใหเกิดความสมดุลพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลง
                 อยางรวดเร็วและกวางขวางจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี



                 ¡ÒûÃÐÂØ¡μãªŒ»ÃѪÞÒàÈÃɰ¡Ô¨¾Íà¾Õ§

                             การเปนประชาคมอาเซียนเปนบริบทของการเปลี่ยนแปลงที่ประเทศไทยจําเปนตอง
                 เตรียมพรอมและปรับตัวรองรับโดยเฉพาะในสวนของเศรษฐกิจซึ่งเปนมากกวาการเปดเสรี แตรวมถึง

                 การปรับประสานกฎระเบียบภายในของแตละประเทศใหสอดคลองกันโดยจะสงผลใหอาเซียน
                 ๑๐ ประเทศเปนเหมือนประเทศเดียวกัน ไมมีกําแพงภาษี ไมมีการกีดกันทางการคา สินคาบริการ

                 การลงทุน แรงงานมีฝมือเคลื่อนยายไดอยางเสรี
                             สําหรับไทยการนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชเปนการใหความสําคัญ
                 ของการพัฒนาที่สมดุล มีการพัฒนาเปนลําดับขั้นไมเนนเพียงการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว

                 ตามพระบรมราโชวาทเมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗ ที่วา
                             “ในการพัฒนาประเทศนั้นจําเปนตองทําตามลําดับขั้นเริ่มดวยการสรางพื้นฐาน คือ

                 ความมีกินมีใชของประชาชนกอนดวยวิธีการที่ประหยัด ระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐาน
                 เกิดขึ้นมั่นคงพอควรแลว การชวยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตัวใหมี

                 ความพอกินพอใชกอนอื่นเปนพื้นฐานนั้นเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งยวดเพราะผูที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอ

                 ที่จะพึ่งตนเองยอมสามารถสรางความเจริญกาวหนาระดับที่สูงขึ้นตอไปไดโดยแนนอน สวนการถือหลัก
                 ที่จะสงเสริมความเจริญใหคอยเปนคอยไปตามลําดับ ดวยความรอบคอบระมัดระวัง และประหยัด
                 นั้นก็เพื่อปองกันการผิดพลาดลมเหลว”




                 และพระราชดํารัสเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๗
                             “...ใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกินไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน

                 มีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถาเรารักความพออยูพอกินนี้ไดเราก็จะยอดยิ่งยวด......”
                             ในแงการบริหารเศรษฐกิจ (ระดับประเทศ) เปนการมองโลกในลักษณะที่เปนพลวัตมีการ

                 เปลี่ยนแปลงมีความไมแนนอน และมีความเชื่อมโยงกับกระแสโลกคือไมใชปดประเทศแตในขณะ
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103