Page 97 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 97

๘๘




              (จากมาเลเซีย) กาแฟ (จากเวียดนามและอินโดนีเซีย) ชา (จากอินโดนีเซีย) และมะพราว (จากฟลิปปนส)
              เปนตน

                          • ธุรกิจบริการของประเทศอาเซียนอื่นที่มีความไดเปรียบในการแขงขันในดานตางๆ
              เชน เทคโนโลยีการบริหารจัดการและเงินลงทุนอาจเขามาตั้งธุรกิจแขงขันในไทยเพิ่มขึ้น เชน ธุรกิจ

              โรงพยาบาล โทรคมนาคมและโลจิสติกส (จากสิงคโปรและมาเลเซีย) เปนตน
                          อยางไรก็ตามความทาทายดังกลาวจะเปนแรงกระตุนใหผูประกอบการไทยตองเรง

              ปรับตัวและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ไมวาจะเปนการลดตนทุนการผลิตสินคา/ใหบริการ
              หรือการสรางมูลคาเพิ่ม/ความแตกตางใหกับสินคาและบริการ



              ¡ÒÃàμÃÕÂÁ¾ÃŒÍÁ¢Í§ä·ÂࢌÒÊÙ‹»ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹´ŒÇ»ÃѪÞÒàÈÃɰ¡Ô¨¾Íà¾Õ§

                          »ÃѪÞÒá¹Ç¤Ô´àÈÃɰ¡Ô¨¾Íà¾Õ§
                          เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแตระดับ

              ครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง

              โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน
                          ¤ÇÒÁ¾Íà¾Õ§ หมายถึง ความพอประมาณ คือ ความพอดี กลาวอยางงายๆ วาเปนการ
              ยืนไดโดยลําแขงของตนเองโดยมีการกระทําไมมากเกินไป ไมนอยเกินไปในมิติตางๆ เชน การบริโภค

              การผลิตอยูในระดับสมดุล การใชจาย การออมอยูในระดับที่ไมสรางความเดือดรอนใหกับตนเอง

              พรอมรับการเปลี่ยนแปลง
                          ¤ÇÒÁÁÕàËμØ¼Å หมายความวา การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอประมาณในมิติตางๆ

              จะตองเปนไปอยางมีเหตุมีผล ตองเปนการมองระยะยาวคํานึงถึงความเสี่ยง มีการพิจารณาจากเหตุ
              ปจจัยและขอมูลที่เกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิด

                          ¡ÒÃÁÕÃкºÀÙÁԤ،Á¡Ñ¹ã¹μÑÇ·Õè´Õ¾ÍÊÁ¤ÇÃตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ
              เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในเนื่องจากพลวัตในมิติตางๆ ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วขึ้น

              จึงตองมีการเตรียมตัวพรอมรับผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ การกระทํา
              ที่เรียกไดวาพอเพียง ไมคํานึงถึงเหตุการณและผลในปจจุบัน แตจําเปนตองคํานึงถึงความเปนไปไดของ

              สถานการณตางๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตภายใตขอจํากัดของขอมูลที่มีอยูและสามารถสรางภูมิคุมกัน
              พรอมรับการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เงื่อนไขการปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ การมีความรอบรู

              รอบคอบระมัดระวังในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน รวมทั้งตองมีคุณธรรม ความซื่อสัตย
              สุจริต

                          ¤ÇÒÁÃͺÃÙŒ คือ มีความรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆ อยางรอบดานในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของ
              เพื่อใชเปนประโยชนพื้นฐานเพื่อนําไปใชในการปฏิบัติอยางพอเพียง การมีความรอบรูยอมทําใหมี

              การตัดสินใจที่ถูกตอง
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102