Page 92 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 92

๘๓




                 การบริโภคสินคาและบริการ แตขึ้นอยูกับอยางอื่นดวย เชน ความเทาเทียมกันในสังคม สภาพแวดลอมที่ดี
                 การเปนที่ยอมรับในสังคม นั้นคือวัตถุประสงคของผูบริโภคจะเปนการสรางความพอใจที่ครอบคลุม

                 มากกวาการวิเคราะหเบื้องตน
                                 (๓) การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว (Self-immunity) พลวัตในมิติตาง ๆ ทําใหมีการ

                 เปลี่ยนแปลงในสภาวะตาง ๆ อยางรวดเร็วขึ้น จึงตองมีการเตรียมตัวพรอมรับผลกระทบที่คาดวาจะ
                 เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ การกระทําที่เรียกไดวาพอเพียงไมคํานึงถึงเหตุการณและผล

                 ในปจจุบัน แตจําเปนตองคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในอนาคต ภายใต
                 ขอจํากัดของขอมูลที่มีอยู และสามารถสรางภูมิคุมกันพรอมรับการเปลี่ยนแปลง และการมีภูมิคุมกัน

                 จะทําใหมีความพอเพียงแมเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง หรือมีเหตุการณที่แยที่สุดก็จะรับมือได
                             ๔.  เงื่อนไข การตัดสินใจและดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัย

                 ความรูและคุณธรรมเปนพื้นฐาน กลาวคือ
                                 (๑)  เงื่อนไขความรู ไดแก มีความรอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง ความรอบรู คือ

                 มีความรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ อยางรอบดาน ในเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อการใชเปนประโยชนพื้นฐาน

                 เพื่อนําไปใชในการปฏิบัติอยางพอเพียง การมีความรอบรูยอมทําใหมีการตัดสินใจที่ถูกตอง ทั้งนี้
                 รวมถึง ความรอบคอบ ความระมัดระวัง คือ มีการวางแผน โดยสามารถที่จะนําความรูและหลักวิชา
                 ตาง ๆ มาพิจารณาเชื่อมโยงสัมพันธกันและความมีสติ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได

                 ในการนําแผนปฏิบัติที่ตั้งอยูบนหลักวิชาตาง ๆ เหลานั้นไปใช ในทางปฏิบัติโดยมีการปรับใชใหเหมาะ

                 กับสภาพแวดลอมทั้งกายภาพและทางสังคมดวย
                                 (๒) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวยมีความตระหนักในคุณธรรม

                 ความซื่อสัตยสุจริต ซึ่งครอบคลุมคนทั้งชาติ รวมทั้งเจาหนาที่ นักวิชาการ นักธุรกิจ มีสองดานคือ
                 ดานจิตใจ/ปญญา และดานการกระทํา ในดานแรกเปนการเนนความรูคูคุณธรรม ตระหนักในคุณธรรม

                 มีความซื่อสัตยสุจริต และมีความรอบรูที่เหมาะสม สวนดานการกระทําหรือแนวทางดําเนินชีวิต
                 เนนความอดทน ความเพียร สติปญญา และความรอบคอบ  เงื่อนไขนี้จะทําใหการปฏิบัติตามเนื้อหา

                 ของความพอเพียงเปนไปได ทําใหตนเองไมมีความโลภ ไมเบียดเบียนผูอื่นหรือสังคม เพราะการมี
                 ความโลภจะทําใหทําอะไรสุดโตง ไมนึกถึงความเสี่ยง ไมรูจักพอ มีโอกาสที่จะกระทําการทุจริต



                 ÈÑ¡ÂÀÒ¾¢Í§ÍÒà«Õ¹

                             • เปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญกลุมหนึ่งของโลกดวยขนาดประชากร
                 รวมกันกวา ๕๙๐ ลานคน (รอยละ ๘.๘ ของประชากรโลก)

                             • มีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติป ๒๐๑๐ รวมกันถึง ๑.๘๕ ลานลานเหรียญ
                 สหรัฐฯ (รอยละ ๓.๐ ของ GDP โลก) และมีอัตราการขยายตัวรอยละ ๗.๔
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97