Page 91 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 91
๘๒
(๑) ความพอประมาณ (Moderation) มีสองนัย คือ ความพอดี ไมสุดโตง และการ
ยืนไดบนขาของตนเอง (self-reliant) เปนการดําเนินชีวิตอยางทางสายกลาง โดยมีการกระทําไมมาก
เกินไป ไมนอยเกินไปในมิติตางๆ เชน การบริโภค การผลิตอยูในระดับสมดุล การใชจาย การออมอยู
ในระดับที่ไมสรางความเดือดรอนใหตนเอง เปนสิ่งที่ทําใหเราทําอะไรเต็มตามศักยภาพไมเบียดเบียน
ตนเองและผูอื่น เพื่อเปนการยืนไดโดยลําแขงของตนเอง
(๒) ความมีเหตุผล (Reasonableness) หมายความวา การตัดสินใจเกี่ยวกับ
พฤติกรรมตางๆ ที่มีความพอประมาณในมิติตาง ๆ จะตองมีสติรอบรูคิดถึงระยะยาว ตองมีเปาหมาย
และวิธีการที่เหมาะสม มีความรูในการดําเนินการ มีการพิจารณาจากเหตุ ปจจัยและขอมูลที่เกี่ยวของ
ตองเปนการมองระยะยาว ตลอดจนคํานึงถึงผลกระทบของการกระทําและความเสี่ยง จะทําใหมีความ
พอประมาณ ทั้งในปจจุบันและอนาคต ความมีเหตุผลในทางปรัชญานี้ความหมายและนัยยะตางกับ
ความมีเหตุผลทางเศรษฐศาสตร เพราะความมีเหตุผลทางเศรษฐศาสตร เปนมโนทัศนเพื่อการวิเคราะห
ที่สมมติวา ผูบริโภครูความพอใจของตนเองและมีพฤติกรรมการบริโภคที่มีความคงเสนคงวา เชน ถาชอบ
สมมากกวาเงาะ และชอบเงาะมากกวามังคุด ก็จะชอบสมมากกวามังคุดดวย นอกจากนี้ยังสมมติวา
ผูบริโภครูวัตถุประสงคของตนเองและจะดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคตามขอจํากัดของงบประมาณ
มีความเขาใจวา เศรษฐศาสตรทําใหคนมีความโลภ เพราะบอกวาผูบริโภคมีความตองการไมจํากัด
และความพอใจไดจากการบริโภคสินคาเทานั้น การสรุปเชนนี้ไมถูกตองนัก เพราะความตองการที่ไม
จํากัดนั้นเปนการเปรียบเทียบกับทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เปนขอสมมติแสดงถึงความขาดแคลน
(Scarcity) ของทรัพยากร ทําใหตองมีการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สวนการวิเคราะหที่
สมมติใหผูบริโภคที่มีเหตุผลตองการความพอใจสูงสุดจากการบริโภคสินคาและบริการตามงบประมาณ
ที่จํากัดนั้น เปนขอสมมติเบื้องตนเพื่อหาอุปสงคของการบริโภคสินคานั้น จึงตองกําหนดความพอใจ
มากจากการบริโภคสินคา การวิเคราะหนี้สามารถขยายไปถึงความพอใจของผูบริโภคไมไดอยูกับ