Page 90 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 90

๘๑


                                                       º··Õè õ



                        ¡ÒÃàμÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ¢Í§»ÃÐà·Èä·ÂࢌÒÊÙ‹»ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹


                                           ´ŒÇ»ÃѪÞÒàÈÃɰ¡Ô¨¾Íà¾Õ§





                 ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

                             ๑.  เพื่อใหผูเรียนรูศักยภาพของอาเซียนซึ่งจะมีผลทําใหประเทศไทยไดรับผลกระทบ

                 ในดานตางๆ

                             ๒.  เพื่อใหผูเรียนรูหลักในการเตรียมความพรอมกับการเขาสูประชาคมอาเซียนดวยหลัก
                 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง



                 º·นํา

                             ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง แนวทางการดําเนินชีวิต และการปฏิบัติตนของ

                 ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร
                 ประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง ประกอบดวย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีภูมิคุมกัน

                 ที่ดี โดยมีเงื่อนไขพื้นฐาน คือ ความรู และคุณธรรม ซึ่งนําไปสูการดําเนินชีวิตที่สมดุล ยั่งยืน สามารถ
                 รับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในไดเปนอยางดี ไมวาเปนดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม

                 และวัฒนธรรม



                 »ÃѪÞҢͧàÈÃɰ¡Ô¨¾Íà¾Õ§

                             หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักการพิจารณา ดังนี้

                             ๑.  กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ควร
                 จะเปน โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และ

                 เปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤต
                 เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา

                             ๒.  คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดทุกระดับ

                 โดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน
                             ๓.  คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย ๓ คุณลักษณะ พรอม ๆ กัน ดังนี้
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95