Page 94 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 94

๘๕




                             • อาเซียนเปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่ยาวนานและเหนียวแนนที่สุดของไทย
                 โดยไทยเปนสมาชิกกอตั้งอาเซียนตั้งแตป ๒๕๑๐

                             • ทางดานระดับการเปดเสรี ไทยมีการเปดเสรีในอาเซียนในระดับสูงสุดเมื่อเทียบกับ
                 ประเทศหรือกลุมประเทศอื่นที่ไทยมีความตกลงเขตการคาเสรีดวย และดวยเปาหมายในการเปน

                 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนซึ่งมากกวาเขตการคาเสรีจะสงผลใหอาเซียนเปนตลาดและฐาน
                 การผลิตเดียวที่แข็งแกรงและดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศเขามาในภูมิภาครวมทั้งไทย



                 ÇÔÇѲ¹Ò¡ÒäÇÒÁËÇÁÁ×Í´ŒÒ¹àÈÃɰ¡Ô¨¢Í§ÍÒà«Õ¹

                             ภายหลังการกอตั้งอาเซียนเมื่อป ๒๕๑๐ ความรวมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน
                 ในระยะแรกที่มีการจัดตั้งเปนไปอยางไมคอยราบรื่นนักเนื่องจากวัตถุประสงคของการจัดตั้งอาเซียน

                 ในระยะแรกไดมุงเนนที่จะเสริมสรางความแข็งแกรงของภูมิภาคทางดานการเมืองและความมั่นคง
                 อยางไรก็ดีเมื่ออาเซียนไดจัดใหมีการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งแรกเมื่อป ๒๕๑๙ ซึ่งผูนําอาเซียน

                 ไดลงนามในปฏิญญาความสมานฉันทแหงอาเซียน (Declaration of ASEAN Concord)

                 เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๑๙ นับแตนั้นเปนตนมาอาเซียนไดใหความสําคัญในดานความรวมมือ
                 ทางเศรษฐกิจมากขึ้น
                             ความรวมมือดานเศรษฐกิจของอาเซียนเริ่มมีความชัดเจนขึ้นนับตั้งแตการจัดตั้งเขตการคา

                 เสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ในป ๒๕๓๕ การจัดทําความตกลงการคาบริการ

                 อาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services : AFAS) ในป ๒๕๓๘ และการจัดตั้ง
                 เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area : AIA) ในป ๒๕๔๑ อยางไรก็ตามทามกลาง

                 กระแสการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคตางๆ รวมทั้งบทบาทและศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของจีนและ
                 อินเดีย ทําใหอาเซียนเองจําเปนตองเรงรัดการรวมกลุมใหเขมแข็งขึ้นโดยในป ๒๕๔๖ ผูนําอาเซียน

                 ไดประกาศเจตนารมณที่จะรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป ๒๕๖๓
                 (ค.ศ.๒๐๒๐) ซึ่งตอมาไดเรงรัดใหเร็วขึ้นเปนป ๒๕๕๘ (ค.ศ.๒๐๑๕)



                 ÀÒ¾ÃÇÁ·Õè¨Ðà¡Ô´¢Ö鹨ҡ¡ÒÃ໚¹»ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹

                             ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) จึงเปนอีกกาวหนึ่งที่สําคัญในการรวมกลุม
                 ของอาเซียนที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นประกอบดวย ๓ ดานหลัก คือ การเมืองและความมั่นคงอาเซียน เศรษฐกิจ

                 รวมถึงสังคมและวัฒนธรรมโดยมีกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปนธรรมนูญที่เปลี่ยนสถานะ
                 ของอาเซียนจากการรวมตัวในลักษณะสมาคมเปนองคกรระหวางประเทศที่มีฐานะทางกฎหมาย

                             ประชาคมอาเซียนจึงเปนเสมือนการรวมตัวเปนประเทศเดียวกันโดยในสวนของเศรษฐกิจ
                 มุงเนนใหเกิดการเคลื่อนยายธุรกรรมทางเศรษฐกิจไดอยางเสรีทั้งการคาสินคาบริการ การลงทุนและ

                 แรงงานฝมือ รวมถึงการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีขึ้นภายใตกรอบกติกาที่ตกลงรวมกัน ทําใหเกิดการ
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99