Page 96 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 96

๘๗




                             • การดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศโดยเฉพาะการลงทุนที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูงซึ่งชวย
                 ใหมีการถายทอดเทคโนโลยีและกิจกรรมการคนควาและวิจัยในประเทศเพิ่มขึ้น

                             • ประสิทธิภาพการผลิตและความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมในประเทศ
                 สูงขึ้นจากการปรับปรุงดานการจัดสรรทรัพยากรและการประหยัดจากขนาดการผลิตที่เพิ่มขึ้น

                             • การมีสวนรวมในเครือขายการผลิตและหวงโซอุปทานของโลก
                             • การเพิ่มอํานาจการตอรองของไทยในเวทีระหวางประเทศ

                             • การปฏิรูปโครงสรางและกฎระเบียบภายในประเทศใหสอดคลองกับพันธกรณีของ
                 AEC ซึ่งจะสนับสนุนการเปดเสรีการคาและการลงทุนในภูมิภาค



                 âÍ¡ÒÊáÅФÇÒÁ·ŒÒ·Ò¢ͧä·Â¨Ò¡¡ÒÃແ´μÅÒ´ã¹ AEC

                             âÍ¡ÒÊ
                             • สามารถขยายการคาการลงทุนในตลาดที่กวางขึ้นโดยเฉพาะสินคาและบริการที่มี

                 ศักยภาพสําหรับสินคาอุตสาหกรรม เชน รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ สิ่งทอและเครื่องนุงหม

                 เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สินคาเกษตร เชน ขาว ยางพารา ผักและผลไมสด รวมไปถึงสินคา
                 เกษตรแปรรูป เชน อาหารสําเร็จรูป ธุรกิจบริการ เชน การทองเที่ยวและบริการที่เกี่ยวเนื่อง (เชน โรงแรม
                 รานอาหารภัตตาคาร) บริการสุขภาพ (สปา นวดแผนโบราณ)

                             • มีโอกาสขยายการลงทุน/รวมทุนในสาขาที่ประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความไดเปรียบ

                 ในการแขงขันทั้งในดานแหลงทรัพยากรธรรมชาติ แรงงานราคาถูก เครือขายการผลิตและการจัดจําหนาย
                 เปนการเพิ่มชองการเขาถึงปจจัยการผลิตที่จําเปนตอธุรกิจ

                                 - สามารถนําเขาวัตถุดิบ/สินคากึ่งสําเร็จรูปจากประเทศสมาชิกอาเซียนโดยไมมี
                 กําแพงภาษีและยังสามารถใชประโยชนจากระบบการขนสงและโลจิสติกสในอาเซียน รวมทั้งการดําเนิน

                 มาตรการดานการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคาขามพรมแดนระหวางประเทศที่มีประสิทธิภาพ
                 มากขึ้น ชวยลดตนทุนในการดําเนินธุรกิจ

                             • สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในตลาดโลกจากการผลิตสินคาและการให
                 บริการในจํานวนมากเพื่อตอบสนองความตองการของตลาดที่ใหญขึ้น ทําใหเกิดการประหยัดจากขนาด

                 การผลิต (economy of scale) รวมทั้งการใชประโยชนจากทรัพยากรการผลิตรวมกัน / เปนพันธมิตร
                 ทางธุรกิจกับประเทศอาเซียนอื่นซึ่งจะเปดโอกาสใหมีการเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณการทํา

                 ธุรกิจเทคนิคในการบริหารจัดการและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
                             ¤ÇÒÁ·ŒÒ·ÒÂ

                             • สินคาของประเทศอาเซียนอื่นอาจเขามาในตลาดในประเทศไทยมากขึ้นในราคา
                 ที่ตํ่ากวาและ/หรือคุณภาพดีกวาสําหรับสินคาอุตสาหกรรม เชน ปโตรเลียม (จากมาเลเซียและพมา)

                 เคมีภัณฑยางและพลาสติก (จากมาเลเซีย) สวนสินคาเกษตร เชน ขาว (จากเวียดนาม) นํ้ามันปาลม
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101