Page 106 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 106

๙๗




                 ทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลําดับตอไป หากมุงแตจะทุมเทสรางความเจริญ ยกฐานะทางเศรษฐกิจขึ้น
                 ไดรวดเร็วแตประการเดียว โดยไมใหแผนปฏิบัติการสัมพันธกับสภาวะของประเทศ และของประชาชน

                 โดยสอดคลองดวย จะเกิดความไมสมดุลในเรื่องตางๆ ได ซึ่งอาจกลายเปนความยุงยากลมเหลว
                 ในที่สุด” Thailand ๔.๐ นอมนําพระราชดํารัสขางตนของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และถอดรหัส

                 ออกมา เปน ๒ ยุทธศาสตรสําคัญคือ
                             ๑.  การสรางความเขมแข็งจากภายใน (Strength from Within)

                             ๒.  การเชื่อมโยงกับประชาคมโลก (Connect to the World) หากการสรางความเขมแข็ง
                 จากภายในคือ การเชื่อมโยงกับโลกภายนอกก็คือ Connectivity ซึ่งทั้ง Competitiveness และ

                 Connectivity เปน ๒ ปจจัยที่จะตองดําเนินควบคูกันในการสรางความมั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืนใหกับ
                 ประเทศ การสรางความเขมแข็งจากภายใน Thailand ๔.๐ เนนการปรับเปลี่ยนใน ๔ ทิศทางคือ

                               ๑)  จากการพึ่งพาเศรษฐกิจโลก สู การสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศ
                                 ๒)  จากการเนนการผลิตสินคาโภคภัณฑ สู การผลิตสินคาเชิงนวัตกรรม

                                 ๓)  จากการเนนเงินทุนและทุนทางกายภาพ สู การเนนทุนมนุษยและเทคโนโลยี

                                 ๔)  จากการกระจุกของความมั่งคั่งและโอกาส สู การกระจายของความมั่งคั่งและ
                 โอกาส การปรับเปลี่ยนใน ๔ ทิศทางดังกลาว จะเกิดขึ้นได จําเปนอยางยิ่งที่จะตองเนน “การพัฒนาที่
                 สมดุล” ใน ๔ มิติ อันประกอบดวย

                                     ๑.  ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ (Economic Wealth)

                                     ๒.  ความอยูดีมีสุขของผูคนในสังคม (Social Well-beings)
                                     ๓.  การรักษสิ่งแวดลอม (Environmental Wellness)

                                     ๔.  การยกระดับศักยภาพและคุณคาของมนุษย (Human Wisdom)
                                 การเชื่อมโยงกับประชาคมโลก เมื่อโครงสรางเศรษฐกิจและสังคมภายในประเทศ

                 เกิดความเขมแข็งก็จะเกิดการพัฒนาขีดความสามารถและมีภูมิคุมกันที่เพียงพอเมื่อเผชิญกับโอกาส
                 และภัยคุกคามจากโลกภายนอก ในการเชื่อมโยงกับโลกภายในมี ๓ ระดับ คือ การเชื่อมโยงเศรษฐกิจ

                 ภายในประเทศ (จากชุมชนสูจังหวัด และกลุมจังหวัด) การเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภูมิภาค (อาเซียน) และ
                 การเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก

                                 เพื่อใหอยูกับประชาคมโลกอยางเปนปกติสุขในการขับเคลื่อน Thailand ๔.๐ รัฐบาล
                 จึงไดนอมนําเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการเชื่อมโยงประเทศไทยกับประชาคมโลก โดยเนน

                 ๑.การอนุรักษโลก (Saved the Planet) ๒.การสรางสันติภาพที่มั่นคง (Secured Peace) ๓.การเติบโต
                 ที่ยั่งยืน (Sustainable Growth) ๔.การสรางความเจริญรุงเรืองรวมกัน (Shared Prosperity)
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111